Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1245
Title: Factors affecting to buying decision for environmentally friendly bottled drinking water products
การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์น้ำดื่มบรรจุขวดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
Authors: Nuchnual, Wasinee
Limsuwan, Prapimpun
วาสินี นุชนวล
ประพิมพรรณ ลิ่มสุวรรณ์
Keywords: Buying decision
Environmentally friendly bottled drinking water
Green marketing
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: เกียรติสุดา ศรีสุข. (2552). ระเบียบวิธีวิจัย. เชียงใหม่: โรงพิมพ์ครองช่าง.
กรีนนิวส์ สำนักข่าวสิ่งแวดล้อม. (2561). การรณรงค์ที่เกี่ยวกับฉลากลดโลกร้อน ค้นเมื่อ 6 มกราคม 2563 จาก https://greennews.agency/?p=19558
ณัฐณิชา นิสัยสุข. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของผู้บริโภค. วิทยานิพนธ์ การจัดการมหาบัญฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
ไณยณันทร์ นิสสัยสุข. (2559). ค่านิยม ทัศนคติ และพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม. วิทยานิพนธ์ นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิาการสื่อสารการตลาด, มหาวิทยาลัยบูรพา.
ไทยพับลิก้า. (2559). หลักเศรษฐกิจหมุนเวียน ค้นเมื่อ 4 มกราคม 2563 จาก https://thaipublica.org/about/
ธุรกิจ คิดใหม่. (2563). จุดเริ่มต้นรักษ์โลกงดแจกถุงพลาสติก 1 เดือนของไทยหรือแค่กระแสตื่นตัว. ค้นเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2563 จาก https://brandinside.asia/start-no-plastic-bag/
รวิกร สยามิภักดิ์. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อน้ำแร่บรรจุขวด ของผู้บริโภคในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล. การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วีรภัทร วัสสระ. (2558). การศึกษาการรับรู้ของผู้บริโภคและปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าอุปโภคบริโภค ที่ออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อม. การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2538). การตลาดเพื่อสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: พัฒนาศึกษา.
สถาบั นไทยพั ฒน์. (2551). CSR กับการบริโภคที่ยั่ง ยืน. ค้นเมื่อ 8 มกราคม 2563 จาก http://www.thaicsr.com/ csr.html?m=0
สิริพัฒนัญ ชินเศรษฐพงศ์. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของผู้บริโภค. การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12. ค้นเมื่อ 10 มกราคม 2563 จาก https://www.nesdc.go.th/ewt_w3c/more_news.php?cid=297&filename=index
Boztepe, A. (2012). Green Marketing and Its Impact on Consumer Buying Behavior. European Journal of Economic and Political Studies 5/1, 5-21.
Chang, N. J. and Fong, C.M. (2010). Green product quality, green corporate image, green customer satisfaction, and green customer loyalty. African Journal of Business Management 4/13, 2836- 2844.
Chen, Y. S., & Chang, C. H. (2010). Enhance green purchase intentions: The roles of green perceived value, green perceived risk and green trust. Journal of Management History (Archive) Merged into Management Decision, 50(3), 502-520.
Cox, R. (2010). Environmental communication and the public sphere (2nd ed.). Los Angeles: SAGE Publications.
Gan, C., Wee, H. Y., Ozanne, L. And Kao, T. H. (2008). Consumers’ purchasing behavior towards green products in New Zealand. Innovative Marketing 4/1, 93-102
Gupta, S and Ogden, D.T. (2009). To buy or not to buy?A social dilemma perspective on green buying. Journal of Consumer Marketing 26/6, 376–391.
Hopfenbeck, W. (1992). The green management revolution: Lessons in environmental excellence. New York: Prentice Hall.
Houghton, J. T., Ding, Y., Griggs, D. J., Noguer, M., Van der Linden, P. J., Dai, X., ... Johnson, C. A. (2001). Climate Change 2001: The scientific basis. Cambridge, UK: The Press Syndicate of The University of Cambridge.
Laroche, M., Bergeron, J. and Barbaro-Forleo, G. (2001). Targeting consumers who are willing to pay more for environmentally friendly products. Journal of Consumer Marketing, 18(6), 503-520.
Lee, K. .(2009). Gender differences in Hong Kong adolescent consumers’ green purchasing behavior. Journal of Consumer Marketing 26/2, 87–96.
Mahesh C.G. (1995). Environmental Management and its impact on the operations function. International Journal of Operations & Production Management.
Rahbar, E. and Wahid, N.A. (2011). Investigation of green marketing tools’ effect on consumers’ purchase behavior. Business Strategy Series 12/2, 73-83.
Solomon, M. R., Marshall, G.W. & Stuart, E.W. (2006). Marketing: real people, real choices (4 th ed). Singapore: Pearson Education.
Zhu, Q., Li, Y., Geng, Y and Qi, Y. (2012). Green food consumption intention, behaviors and influencing factors among Chinese consumers. Food Quality and Preference 28, 279– 286. 1926
Abstract: The objective of the research was to study demographic factors and green marketing factors influencing consumers’ buying decision for environmentally friendly bottled drinking water products. The sample was those with prior experience to buy bottled drinking water products living in Bangkok Metropolitan Region. Since the population size was large and unknown,the sample size was determined and calculated by an unknown population formula. The sample was selected based on a purposive sampling. The research instrument was a questionnaire whose reliability was determined using Cronbach’s alpha coefficient. Data were collected by using online questionnaire from the sample of 400 consumers with prior experience to buy bottled drinking water products living in Bangkok Metropolitan Region. Quantitative data were analyzed using percentage, mean, standard deviation as well as Multiple Regression Analysis for testing hypotheses with a statistical significance level of 0.05. The results of this study indicated that in terms of demographic factors, the respondents with different gender had different buying decision for environmentally friendly bottled drinking water products. In addition, in terms of green marketing factors, trust (β = 0.508), interest (β = 0.331), environmental brand mark (β = 0.149), and product quality (β = 0.127) influenced consumers’ buying decision for environmentally friendly bottled drinking water products.
วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาถึงปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ และปัจจัยทางการตลาดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่มี ผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์น้ำดื่มบรรจุขวดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ กลุ่มผู้ที่เคยมี ประสบการณ์ซื้อผลิตภัณฑ์น้ำดื่มบรรจุขวดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ซึ่งมี จำนวนประชากรขนาดใหญ่และไม่สามารถทราบจำนวนประชากรทั้งหมดที่แน่นอนได้ ดังนั้น จึงใช้สูตรการหาจำนวนของกลุ่ม ตัวอย่างแบบที่ไม่ทราบจำนวนประชากร และใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยใช้ แบบสอบถามที่ผ่านการหาค่าความเชื่อมั่น ด้วยวิธีหาค่าสหสัมประสิทธิ์เอลฟ่าของครอนบัค แล้วนำไปเก็บข้อมูลด้วยการแจก แบบสอบถามออนไลน์กับกลุ่มตัวอย่างผู้บริโภคน้ำดื่มบรรจุขวดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล จำนวน 400 คน แล้วนำมาทำการวิเคราะห์ด้วยวิธีการวิเคราะห์เชิงปริมาณ (Quantitative Research) ได้แก่ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และการวิเคราะห์การถดถอยเชิง พหุ (Multiple Regression Analysis) เพื่อใช้ในการทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ เพศที่แตกต่างกันมีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์น้ำดื่มบรรจุขวด ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และปัจจัยทางการตลาดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมด้านความไว้วางใจในผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (β = 0.508) ความสนใจในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (β = 0.331) เครื่องหมายตราสินค้าด้าน สิ่งแวดล้อม (β = 0.149) และคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (β = 0.127) มีผลผลต่อการตัดสินใจซื้อ ผลิตภัณฑ์น้ำดื่มบรรจุขวดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1245
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
968 (1).pdf231.96 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.