Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1237
Title: Satisfaction of Government Teachers and Educational Personnel with School Environmental Management in Debsirinromklao School under the Secondary Educational Service Area Office 2
ความพึงพอใจของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มีต่อการจัดสภาพแวดล้อมใน โรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
Authors: sairat, Patchara
Thongprong, Amnuay
พชร สายรัตน์
อำนวย ทองโปร่ง
Keywords: Satisfaction
School Environmental Management
teachers and educational personnel
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กระทรวงศึกษาธิการ. (2542).พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542. กรุงเทพมหานคร. โรงพิมพ์การศาสนา.
นภาพร วนากิตติเสถียร. (2554). เรื่องความคิดเห็นของครูต่อการบริหารสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาระดับปฐมวัยสังกัด สำงานคระกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานครเขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
บุญยอร คุณทน. (2556). ความพึงพอใจของครูผู้สอนต่อการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษา ในเขตอำเภอนาจหลวย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา อุบลราชธานี เขต 5. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.
เบญญาภา คงมาลัย. (2551). ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการศึกษาของ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเซนต์จอน์.
พฤทธิ์ ศิริบรรรพิทักษ์ .(2555) . การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน : พื้นฐานด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพ ฯ : ไทยสัมพันธ์.
โรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า. (2561). รายงานการประเมินตนเอง พ.ศ. 2561.กรุงเทพมหานคร.
โรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า. (2561). รายงานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2561.กรุงเทพมหานคร.
วัชรศักดิ์ วุฒิวิชญานันต์. (2559). ความพึงพอใจต่อการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล 1 (สถาวร)สังกัดเทศบาลเมืองบ้านบึง จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.
สักรินทร์ บุญกว้าง. (2551). การศึกษาความพึงพอใจของครูต่อการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน อำเภอ วิเชียรบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัย มหาสารคาม.
สายสมร ภู่เจริญ. (2554). การสร้างบรรยากาศการเรียนการสอนในโรงเรียนมัธยมศึกษากรุงเทพ ฯ.:ไทยวัฒนาพานิช.
สุจิตรา สุคนธทรัพย์. (2545). เอกสารประกอบการสอนวิชา โปรแกรมสุขภาพโรงเรียน. กรุงเทพ ฯ : ภาควิชาพลศึกษา ครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุพิชญา อุรเคนทร์เนตร. (2553). ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร สำนักการคลังและสินทรัพย์ สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพ ฯ : สำนักนายกรัฐมนตรี.
อดุลย์ วรรณคำ. (2552). การบริหารแบบมีส่วนร่วมในการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของโรงเรียนภูซาง วิทยาคม อำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา.วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
อารียา สตารัตน์. (2556). การจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตราชเทวี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อินทิรา บริบูรณ์ .(2556).การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนเครือข่ายนานาชาติเวลล์ สำนักงาน บริหารคณะกรรมส่งเสริมการศึกษาเอกชน.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อำนวย ทองโปร่ง. (2555). กระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารหารศึกษา พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพ ฯ : ภาควิชาบริหารการศึกษา และอุดมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Astion,A.W.(1971).The college environmrnt. New Yok :American Council on Education.(1972).The college environment. New Yok: American Council on Education.
Cohen, L., Minion, L., & Morrison, K.(2011) Research methods in education(7th ed.). New York: Routledge.
Abstract: This research were to study satisfaction of government teachers and educational personnel toward environmental management in Debsirinromklao school under the Secondary Educational Service Area Office 2 and compare satisfaction of government teachers and educational personnel with environmental management in Debsirinromklao School under the Secondary Educational Service Area Office 2 classified by educational background and work experience. The research instrument a random sampling and Cohen’s table questionnaires, reliability level = 0.947, were used for data collection. The data were analyzed by frequency, percentage, average ( x􀒧 ) and standard deviation ( S.D.). The result revealed that 1) the satisfaction of government teachers and educational personnel toward environmental management in Debsirinromklao School under the Secondary Educational Service Area Office 2 was at high level, 2.) the comparison results, classified by the parents’ educational background, showed that there was no difference, both overall and each aspect, 3.) the comparison result, classified by work experience showed that there was no difference, both overall and each aspect.
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มีต่อการจัด สภาพแวดล้อมในโรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 และเพื่อเปรียบเทียบ ความพึงพอใจของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มีต่อการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถามค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.947 สถิติที่ใช้ใน การวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (x􀒧) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และเปรียบเทียบความแตกต่างโดยใช้ค่าที (t .test) และใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One - way Analysis of Variance) ผลการวิจัยพบว่า 1. ความพึงพอใจของ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มีต่อการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2. ข้าราชการครูและบุคคลากรทางการศึกษาที่มีวุฒิ การศึกษาต่างกันมีความพึงพอใจต่อการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 2 จำแนกตามระดับการศึกษาโดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน และ 3. ข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาที่มีประสบการณ์ในการทำงานต่างกันมีความพึงพอใจต่อการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1237
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.