Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1234
Title: A Study of Public Participation in Government Operations
การศึกษาเรื่อง การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการดำเนินงานภาครัฐ
Authors: Sungkhin, Nared
นเรศ สังขินท์
Keywords: Participation
Coronavirus Infection Disease 2019 (Covid-19)
Stay home
stop infection for nation
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2528). (อ้างถึงใน ทานตะวัน อินทร์จันทร์, 2546) แนวคิดไทยเรื่อง เจ็บไข้ได้ป่วย. กรุงเทพฯ: ศูนย์ประสานงาน การแพทย์และเภสัชกรรมแผนไทย, กระทรวงสาธารณสุข.
จินตนา สุจจานันท์. (2549). การศึกษาและการพัฒนาชุมชน. เชียงใหม่, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง. (2527). การบริหารงานพัฒนาชนบท. กรุงเทพฯ, สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
ฉอ้าน วุฑฒิกรรมรักษา. (2526). ปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมที่มีผลต่อการเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการสร้างงานในชนบท: ศึกษาเฉพาะกรณีโครงการที่ได้รับรางวัลดีเด่นของตำบลคุ้งพะยอม อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี. วิทยานิพนธ์สังคม สงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาสังคมสงเคราะห์, คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เฉลียว บุรีภักดี และคณะ. (2545). ชุดวิชาการวิจัยชุมชน ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง.หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตการจัดการ และประเมินโครงการ. นนทบุรี, เอส. อาร์. พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์.
ชาติชาย ณ เชียงใหม่. (2533). การมีส่วนร่วมของประชาชนและการสนับสนุนการพัฒนาขององค์กรประชาชน. กรุงเทพฯ, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ทานตะวัน อินทร์จันทร์. (2546). การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการชุมชนในการพัฒนาชุมชนย่อย ในเขต เทศบาลเมืองลำพูน. การค้นคว้าอิสระรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ธวัช เบญจาธิกุล. (2529). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเข้ามามีส่วนร่วมของชาวนาในการพัฒนา: หมู่บ้านชาวเขาชนะเลิศการประกวด หมู่บ้านพัฒนาตัวอย่างของศูนย์พัฒนาแลสงเคราะห์ชาวเขาจังหวัดเชียงใหม่ ประจำปี พ.ศ. 2527. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นิรันดร์ จงวุฒิเวศย์.(2527). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา.กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหิดล.
เมตต์ เมตต์การุณ์จิต. (2553). การบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม: ประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และราชการ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ, บุ๊คพอยท์.
มณฑล เอกอดุลย์พันธ์. (2553). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม กรณีศึกษาตลาดน้ำตลิ่งชัน เขตตลิ่ง ชัน กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, สาขารัฐศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ยุวัฒน์ วุฒิเมธี. (2526). การพัฒนาชุมชนและการพัฒนาชนบท. กรุงเทพฯ, ไทยอนุเคราะห์ไทย.
ยุพาพร รูปงาม. (2545). การส่วนร่วมของข้าราชการสำนักงบประมาณในการปฏิรูป ระบบราชการ. ภาคนิพนธ์ศิลปะศาสตร์ มหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
วิไลลักษณ์ สุวจิตตานนท์. (2552). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ กรณีศึกษาประชาชนในเขตเทศบาลพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการผังเมือง, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุจินต์ ดาววีระกุล. (2527). ปัจจัยที่มีต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการพัฒนาหมู่บ้าน: กรณีศึกษาเฉพาะกรณี หมู่บ้าน ชนะเลิศการประกวดหมู่บ้านดีเด่นระดับจังหวัดของจังหวัดนครสวรรค์ ประจำปี พ.ศ. 2527. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหา บัณฑิต, สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุธี ศรสวรรค์. (2538). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนของมุสลิม: ศึกษาเฉพาะกรณีตำบลคลองตะเคียน อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาพัฒนาสังคม, คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
สุชาดา จักรพิสุทธิ์. (2547). ปฏิรูปการศึกษาในสังคมไทยชุมชนกับการมีส่วนร่วมจัดการศึกษานักวิชาการมหาวิทยาลัยเที่ยง คืน Retrieved from http://www.midnightuniv.org/midnight2545/document 9562.html.
อคิน รพีพัฒน์. (2525). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาชนบทในสภาพสังคม และวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ, ศักดิ์โสภาการพิมพ์.
อนุภาพ ถิรลาภ. (2528). การวิเคราะห์เชิงสมมติฐานการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชนบท, ศึกษาเฉพาะกรณี อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาบริหารรัฐกิจ. คณะรัฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อิระวัชร์ จันทรประเสริฐ. (2541). (อ้างถึงใน ณรงค์ วารีชล, 2551) แรงงานกับการมีส่วนร่วม. กรุงเทพฯ, กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม.
Bertrand, Alvin L. (1972). (อ้างถึงใน วัชราภรณ์ เอี่ยมสะอาด, 2538). “Definitions and Strategies of Rural Development : A Search for Coherence and Congruity”. Sociologic Ruralis, Vol. XII, No. 3/4.
Erwin, W. (1976). (อ้างถึงใน ปรีดา เจษฎาวรางกุล, 2550). Participation Management: Concept Theory and Implementation. Atlanta: Georgia State University
Kasperson, R.E. and Breitbank. (1974). (อ้างถึงใน ทานตะวัน อินทร์จันทร์, 2546) Participation, Decentralization and Advocacy Planning. Resource Paper No.25. Washington D.C.: Association of American Geographers.
United Nations, (1981). Yearbook of International Trade Statistic. United Nations: UN Press.
William W. Reeder. (1974). (อ้างถึงใน ไชยชนะ สุทธิวรชัย, 2536) Some Aspects of the Informal Social Participation of Farm Families in New York State. Cornell University. (Unpublished Ph.D. Dissertation).
Abstract: This academic article is a study of public participation in government of operation that is to promote, support, and give people an opportunity to take part in conducting projects and activities of government organization both formal and informal participation in thinking, problems analyzing, planning, decision making, monitoring including receiving benefits or impacts from operations. The public participation in government operations is very significant because any operations done by governments become more directive and powerful to move the whole society. It not only causes a current social awareness and unity but also decreases the burden of the government eventually achieves the goals. This is similar to the government that has people keep social distancing now to reduce the spread of the corona virus infection 2019 (Covid-19) #Stay home, stop infection for nation
บทความวิชาการนี้ เป็นการศึกษาเรื่อง การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการดำเนินงานภาครัฐ คือ การส่งเสริมสนับสนุน และเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีบทบาทหรือมีส่วนร่วมในการดำเนินโครงการ/กิจกรรมขององค์กรภาครัฐ ทั้งที่เป็นทางการ และไม่เป็นทางการ ในการร่วมคิด ร่วมวิเคราะห์ปัญหา ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ ร่วมตัดสินใจ ร่วมติดตามตรวจสอบการดำเนินการ รวมทั้งร่วมรับผลประโยชน์หรือผลกระทบจากการดำเนินการ ซึ่งการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการดำเนินงานภาครัฐนั้นมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะจะช่วยให้การ ดำเนินการใด ๆ ที่เกิดจากรัฐมีทิศทางและพลังในการขับเคลื่อนที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทั้งสังคม ก่อให้เกิดกระแสความตื่นตัว ของคนในสังคม เกิดพลังความสามัคคี เป็นการแบ่งเบาภาระของรัฐ ท้ายที่สุดก็จะสามารถทำให้สิ่ง ๆ นั้นบรรลุวัตถุประสงค์ เหมือนกับที่รัฐบาลมีมาตรการให้ประชาชนเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ในขณะนี้ เพื่อลดการแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด - 19)#อยู่บ้านหยุดเชื้อเพื่อชาติ
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1234
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.