Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1226
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorBamrungsri, Kanoktip-
dc.contributor.authorKhaiwlong, Kunlayanee-
dc.contributor.authorcharoensuk, Achara-
dc.contributor.authorChunngam, Ronnaphrom-
dc.contributor.authorกนกทิพย์ บำรุงศรี-
dc.contributor.authorกัลยาณี เขียวหลง-
dc.contributor.authorอัจฉรา เจริญสุข-
dc.contributor.authorรณพรหม ชุนงาม-
dc.date.accessioned2021-05-24T02:55:08Z-
dc.date.available2021-05-24T02:55:08Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationกรรณิการ์ เพ็งปรางค์ และ กาญจนา แก้วเทพ. (2548). การมีส่วนร่วมในการสื่อสาร:จากแนวคิดสู่ การปฏิบัติจริง. วารสารนิเทศศาสตร์, 48 (23), 3-4, 62-81.-
dc.identifier.citationกาญจนา แก้วเทพ และคณะ. (2543). สื่อเพื่อชุมชน: การประมวลองค์ความรู้. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการ วิจัย (สกว.).-
dc.identifier.citationกุลฤดี นุ่มทอง. (2558). การสื่อสารอย่างมีส่วนร่วมเพื่อสร้างความตระหนักรู้สิทธิขั้นพื้นฐาน ของแรงงานเด็กข้ามชาติใน ชุมชน จังหวัดสมุทรสาคร. วารสารนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมนิด้า, 58 (2), 72.-
dc.identifier.citationนภดล เฮงเจริญ. (2548). กระบวนการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ. รวมบทความทางวิชาการ ชุดที่ 4 ศาลรัฐธรรมนูญกับการ คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ในโอกาสการสถาปนาศาลรัฐธรรมนูญครบรอบ 7 ปี, 48 (4) 4.-
dc.identifier.citationนัทมน คงเจริญ และ อุ่นใจ เจียมบูรณะกุล. (2544). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของหญิงรากหญ้า:อดีต ปัจจุบัน อนาคต. เชียงใหม่ : ศูนย์สตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.-
dc.identifier.citationพวงชมพู ไชยอาลา แสงรุ่งเรืองโรจน์ (2556). การสื่อสารแบบมีส่วนร่วม: กลไกในขับเคลื่อนแนวคิดสู่การปฏิบัติภายใต้ กระบวนทัศน์การพัฒนาแบบทางเลือก. ค้นเมื่อ 18 พฤษภาคม 2563 จาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/ HUSO/article/view/32227/27517-
dc.identifier.citationวรพจน์ วิศรุตพิชญ์. (2543). สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. (พิมพ์ครั้งที่ 2) กรุงเทพฯ: วิญญูชน.-
dc.identifier.citationวิทยา ภานพุงศ์ ภูโต. (2551). การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมกรณีศึกษา ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนเขาสมอคอน อำเภอ ท่าวุ้ง ตำบลเขาสมอคอน จังหวัดลพบุรี. วทิ ยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลยั ธุรกิจบณั ฑิตย์.-
dc.identifier.citationศรีธรณ์ โรจน์สุพจน์, ภัทมัย อินทจักร และ นิคม ชัยขุนพล. (2547). การสื่อสารเพื่อการมีส่วนร่วมจัดการป่าชุมชนของ ชาวบ้านห้วยแก้ว กิ่งอำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.-
dc.identifier.citationสงกรานต์ ป้องบุญจันทร์. (2561). กลไกทางกฎหมายกับการคุ้มครองสิทธิในการมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีจากมลพิษข้าม พรมแดนของประเทศไทย: กรณีศึกษาเหมืองถ่านหินและโรงไฟฟ้าถ่านหินหงสา แขวงไซยะบุรี ประเทศลาว. วารสาร นิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเขียงใหม่, 61 (1), 55-86.-
dc.identifier.citationอุดม ไพรเกษตร และ ปิยากร หวังมหาพร. (2560). การมีส่วนร่วมของประชาชนผ่านทางสื่อสังคมเฟสบุ๊คของ หน่วยงานภาครัฐไทย. วารสารการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 60 (1)-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1226-
dc.description.abstractThis academic article the author aims to see the importance of communication. In the matter of receiving news and participation of people in the community the form and method of communication it is necessary to use public relations media such as notice boards, public relations boards, community radios, to inform or community locations for notification purposes. One thing to be aware of is the right to receive news from the community. He can receive news from agencies that send to the public in how are community leaders, village heads, volunteers, or who can have the right to receive news? or how to communicate that allows everyone to receive accurate, clear, and timely news as well. In this article, the issue is 1) participatory communication 2) The concept of rights to know (Right to Know) as Lawen_US
dc.description.abstractบทความวิชาการนี้ ผู้เขียนมีวัตถุประสงค์เพื่อให้มองเห็นความสำคัญของการสื่อสาร ในเรื่องของการรับรู้ข่าวสาร และ การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ส่วนรูปแบบและวิธีการสื่อสาร จำเป็นต้องอาศัยสื่อในการประชาสัมพันธ์ อาทิเช่น ป้ายประกาศ บอร์ดประชาสัมพันธ์ วิทยุชุมชน หรือ สถานที่ชุมชน เพื่อการบอกกล่าวหรือชี้แจงเผยแพร่ให้ทราบ สิ่งหนึ่งที่ควรตระหนักคือ สิทธิในการรับรู้ข่าวของของคนในชุมชน เขาสามารถรับรู้ข่าวสารจากหน่วยงานที่ส่งมายังประชาชนใน ชุนชนได้อย่างไร จากผู้นำ ชุมชน ผู้ใหญ่บ้าน อาสาสมัคร (อสม.) หรือใครที่จะมีสิทธิในการรับรู้ข่าวสารได้บ้าง หรือมีวิธีการสื่อสารอย่างไร ที่ให้ทุกคนได้รับ ข่าวสารได้อย่างถูกต้องชัดเจน และทันเวลา กับ สถานการณ์นั้นๆ ด้วย ในบทความนี้เสนอประเด็น 1) การสื่อสารอย่างมีส่วนร่วม 2) แนวความคิดเกี่ยวกับสิทธิได้รู้ (Right to Know) ตามที่กฎหมายกำหนด-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectcommunicationen_US
dc.subjectParticipatoryen_US
dc.subjectRecognitionen_US
dc.titleParticipatory communication with cognitive rightsen_US
dc.titleการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมกับสิทธิในการรับรู้ของประชาชน-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.