Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1218
Title: THE OPINIONS 0F TEACHERS TOWARDS SHOOL ACADEMIC ADMINISTRATION. IN TALING CHAN DISTRICT OFFICE UNDER BANGKOK
ความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน ในสำนักงานเขตตลิ่งชัน สังกัดกรุงเทพมหานคร
Authors: prasopsuk, Chonticha
Silanukit, Chonmanee
ชลธิชา ประสพสุข
ชนมณี ศิลานุกิจ
Keywords: The opinions
Teachers
Academic Administration
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว
นางสาวหทัย ศิริพิน. (2558). แนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการโรงเรียนบ้านกระทุ่มล้ม (นครราษฎร์ประสิทธิ์). วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ปัณนัชญา รามัญจิตร. (2559). ความคิดเห็นของครูต่อการบริการงานวิชาการในโรงเรียนเอกชน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ลำภู นาคทอง. (2559). ความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนในกลุ่มสห วิทยาเขตเบญจสิริ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 . วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สายนภา ดาวแสง. (2559). ความพึงพอใจของครูต่อการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนสังกัด สำนักการศึกษา เมืองพัทยาจังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.
Cohen, L., Manion, L., Morrison, K. (2011). Research methods in education (7 th ed.). New York : Routledge
Abstract: The purposes of this research are to study and to compare the implementation of The opinions of teachers towards school academic administration. In Taling Chan District Office Under Bangkok classified by educational background and teaching experience. Examples used in the research were teachers who perform teaching at schools in Taling Chan district Office. Under the Bangkok Metropolitan Administration Year 2562, a total of 236 people were selected by stratified random sampling. The instrument used was 5 levels rating scale questionnaire consisting of 40 items with content consistency 0.60 – 1.00 The results of the analysis of the confidence questionnaire for teachers on academic administration of schools in Taling Chan district office under Bangkok Metropolitan equal to 0.95. The statistics used are frequency, percentage, mean , standard deviation, t-test, and one-way analysis of variance. The analyzed data shows that; The opinions of teachers towards the academic administration of schools in the office. Taling Chan District, under Bangkok the overall picture is in a high level. When considering it was at the high level in all. Teachers with different qualifications are having the same opinion on academic administration which include overall picture and each aspect.
การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงานวิชาการของ โรงเรียนในสำนักงานเขตตลิ่งชัน สังกัดกรุงเทพมหานคร จำแนกตามจำแนกตามวุฒิการศึกษา และประสบการณ์การสอน กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ครูของโรงเรียนในสำนักงานเขตตลิ่งชัน สังกัดกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2562 จำนวน 236 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ โดยใช้โรงเรียนเป็นชั้น เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 40 ข้อ มีค่าความสอดคล้องเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา เท่ากับ 0.60 – 1.00 ผลการวิเคราะห์ค่าความเชื่อมั่นแบบสอบถาม ความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนในสำนักงานเขตตลิ่งชัน สังกัดกรุงเทพมหานคร เท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการ วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า ความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนใน สำนักงานเขตตลิ่งชัน สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมาก ทุกด้าน การเปรียบเทียบครูที่มีวุฒิการศึกษาและประสบการณ์การสอนต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารงานวิชาการของ โรงเรียนในสำนักงานเขตตลิ่งชัน สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1218
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.