Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1204
Title: Teachers’ Opinions Towards the Personnel Administration of School Administrators in School Network 25th Under the Buengkum District Office, Bangkok Metropolis
ความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา เครือข่ายโรงเรียนที่ 25 สังกัดสำนักงานเขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร
Authors: Premklang, Thawinan
Tharasrisutti, Pavida
ทวินันท์ เปรมกลาง
ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ
Keywords: The Personnel Administration The Educational Administration The School Administrators
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: นุชรา สายสุด. (2560). การศึกษาความพึงพอใจของครูที่มีต่อการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานครเครื่อข่ายที่ 47. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัยรามคำแหง.พิชชาภรณ์ พิมมัชฉา. (2560). การศึกษาความพึงพอใจของครูที่มีต่อการบริหารงานบุคคลของสถานศึกษาในกลุ่ม เครือข่ายพระบรมธาตุบ้านตาก อำเภอบ้านตาก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ภัทราวดี สงฆ์กราณ. (2559). การศึกษาสภาพการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เขต 42. การคันคว้าอิสระการศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
มุกดา สกุลโพ. (2560) ความพึงพอใจของครูต่อการบริหารงนบุคคลโรงเรียนกลุ่มเครือข่ายที่ 32 สำนักงานเขตประเวศ กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
มูนีเราะห์ เจ๊ะมิง. (2559). การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สังกัดสำนักงาน การศึกษาเอกขน จังหวัดยะลา. สารนิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
รัชนก พรรณนนท์. (2560) ความพึ่งพอใจของครูต่อการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารโรงเรียนราชวินิต สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2557). รายงานการวิจัยและพัฒนาเรื่องรูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค.
Cohen, L., Minion, L., & Morrison, K. (2011). Research methods in education (7th ed.). New York Routledge.
Abstract: The research aimed were to studies of teachers’ opinions towards the personnel administration of school administrators in school network 25th under the Buengkum District Office, Bangkok Metropolis. and compares teachers’ opinions towards the personnel administration of school administrators in school network 25th under the Buengkum District Office, Bangkok Metropolis. Extrapolating from the Cohen, Manion and Morrison Table so as to determine appropriate sample size, the researcher selected a sample population consisting of 136 teachers in schools network 25 under Buengkum District Office, Bangkok Metropolis, then employing the stratified random simple sampling. The research Instrument was a five-rating scale questionnaire The quertionnaire war tested for the reliability with Cronbach’s alpha coefficient of .94 Using techniques of descriptive statistics, the researcher analyzed the data collected in terms of frequency, percentage, mean, and standard deviation. A t-test technique and the one-way analysis of variance (ANOVA) technique were alsoemployed by the researcher. Findings are as follows: 1) The personnel administration of school administrators in school network 25th under the Buengkum District Office, Bangkok Metropolis. In overall and each aspect were at the highest level. 2) The teachers who differed in educational level in their opinions toward the personnel administration of school administrators in school network 25thunder the Buengkum District Office, Bangkok Metropolis in overall and all aspects evince did not differences. 3) The teachers who differed in work experience in their opinions toward the personnel administration of school administrators in school network 25th under the Buengkum District Office, Bangkok Metropolis in overall and each aspects evince did not differences.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา เครือข่ายโรงเรียนที่ 25 ลังกัดสำนักงานเขตบีกุ่ม กรุงเทพมหานคร และเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงาน บุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา เครือข่ายโรงเรียนที่ 25 ลังกัดสำนักงานเขตบีงกุ่ม กรุงเทพมหานคร โดยจำแนกตามวุฒิ การศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูผู้สอนในเครือข่ายโรงเรียนที่ 25 สังกัด สำนักงานเขตบีงกุ่ม กรุงเทพมหานดร จากก ารเปิดตารางของ Cohen, Manion, and Morrison ได้ชนาดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 136 คน แล้วใช้วิธีการลุ่มอย่างง่าย (Simple random somping) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) มาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ มีค่าสัมปะสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ -94 สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติการทดสอบค่าที (t - tes!) และการทดสอบความแปรปรวน ทางเดียว (One-way ANOVA ผลการวิจัยพบว่า 1) ครูมีความคิดเห็นต่อการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา เครือข่ายโรงเรียนที่ 25 สังกัดสำนักงานเขตบีงกุ่ม รุงเทพมหานคร โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) ครูที่มีวุฒิ การศึกษา และประสบการณ์นการทำงานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา เครือข่าย โรงเรียนที่ 25 สังกัดสำนักงานเขตบีงกุ่ม กรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน 3) ครูที่มีประสบการณ์ใน การทำงานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา เครือข่ายโรงเรียนที่ 25 สังกัดสำนักงาน เขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1204
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.