Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1175
Title: Childbearing among Women of each Generations in Bangkok
การมีบุตรของสตรีต่างรุ่นในกรุงเทพมหานคร
Authors: Kono, Shayaniss
ชญานิศวร์ โคโนะ
Keywords: Childbearing
Generations
Bangkok
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: ชญานิศวร์ กุลรัตนมณีพร. (2553). เอกสารประกอบการสอนวิชา สค 114 ประชากรศาสตร์เบื้องต้น. คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อัดสำเนา.
พัชราวลัย วงศ์บุญสิน. (2554). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในยุคสังคมเสี่ยงภัย: มุมมองทางประชากรศาสตร์. สำนักงาน คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ.
พิมลพรรณ อิศรภักดี. (2557). “ทัศนคติของคนรุ่นใหม่เกี่ยวกับการแต่งงานและการมีบุตร”. ใน ประชากรและสังคม 2557: การเกิดกับความมั่นคงในประชากรและสังคม. ยุพิน วรสิริอมร, จงจิตต์ ฤทธิรงค์, ศุทธิดา ชวนวัน และ พจนา หันจางสิทธิ์. หน้า 119-212. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
ภูเบศร์ สมุทรจักร และนิพนธ์ ดาราวุฒิมาประกรณ์. (2560). ไลฟสไตล์ แผนการดำเนินชีวิต กับแนวคิดการมีบุตรของคนเจ เนอเรชันวาย. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2549). ศัพท์ต่างประเทศที่ใช้คำไทยแทนได้. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2555). สำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2553 ทั่วราชอาณาจักร. กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติ แห่งชาติ.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2555). การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร ทั่วราชอาณาจักร (ไตรมาส 3). กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติแห่งชาติ.
Bengtson, V.L. and Roberts, Robert E.L. (1991). Intergenerational Solidarity in Aging Families: An Example of Formal Theory Construction. Journal of Marriage and the Family, 53(November 1991): 856-870.
Bongaarts, J. (1978). A Framework for Analyzing the Proximate Determinants of Fertility. Population and Develop Review, 4(1). Page 105-132.
Connidis, I.A. and Barnett, A.E. (2019). Family Ties and Aging. 3rd Edition Thousand Oaks, California: SAGE.
Davis, K. and Blake, J. (1956). Social Structure and Fertility An Analytic Framework. Economic and Cultural Change, 4(3), 211-235.
Douglas, A., Lubbe, B., and Rooyen, A. (2018). Business travellers’ use of mobile travel applications: a generational analysis. In Information Technology & Tourism, 18(4), February 2018.
Goldstein, S. (1972). The Demography of Bangkok: A Case Study of Differentials between Big Cities and Rural Populations. Bangkok: Institute of Population Studies, Chulalongkorn University.
Markert, J. (2004). Demographics of Age: Generational and Cohort Confusion. Journal of Current Issues and Research in Advertising, Volume 26, Number 2 (Fall 2004).
Meier, J., Austin, S., and Crocker, M. (2010). Generation Y in the Workforce: Managerial Challenges. The Journal of Human Resource and Adult Learning, 6(1), 68-78.
Pejaranonda, C., Santipaporn, S. and Guest, P. (1995). Rural-urban migration in Thailand. pp.171-243 in Trends, Patterns and Implications of Rural-urban Migration in India, Nepal, and Thailand. ESCAP, United Nations, New York.
Tangchonlatip, K. (2005). Gender Differentials in Migration to Bangkok. PhD. Dissertation in Demography, Faculty of Graduate Studies, Mahidol University.
UNJSPF. (2009). Overcoming Generation Gap in the Workplace. New York: Secretariat Headquarters, United Nations Joint Staff Pension Fund.
Abstract: This research aimed to study the data of having children among the Thai women in different generations who were living in Bangkok. This study used quantitative data, i.e., both onsite and online questionnaires of 1,000 female Bangkok residents aged 20+. The findings revealed that there were 41.4% of the respondents currently having children. The majority consisted of those having one child (42.4%) and those having two children (40.7%). However, about the children of women among different generations, Gen B or the baby boom generation had the largest share of childbearing (78.2%), followed by Gen World War (75.0 %), Gen X (65.9%), and Gen Y (14.7%). Persons influencing childbearing decisions were including the women themselves (76.8%), followed by their husbands (16%), own parents (4%), parents in law (2%), and others (1.2%), respectively.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการมีบุตรของสตรีต่างรุ่นในกรุงเทพมหานคร โดยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ อาศัยพนักงานสัมภาษณ์และแบบสอบถามออนไลน์ในการเก็บข้อมูล จากสตรีที่มีอายุ 20 ปีขึ้นไปและอาศัยอยู่ในเขต กรุงเทพมหานคร จำนวน 1,000 ราย ผลการวิจัยพบว่า สตรีมีบุตร ร้อยละ 41.4 ด้านจำนวนบุตรที่สตรีในกรุงเทพฯ มีมากที่สุด คือ จำนวน 1 คน (ร้อยละ 42.4) และ 2 คน (ร้อยละ 40.7) ทั้งนี้รุ่นเบบี้บูมมีสัดส่วนการมีบุตรสูงที่สุด (ร้อยละ 78.2) รุ่นสงครามโลก (ร้อยละ 75.0) รุ่น เอ็กซ์ (ร้อยละ 65.9) และรุ่นวาย (ร้อยละ 14.7) ข้อมูลบุคคลที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจมีบุตร พบว่า สตรีเองมีอิทธิพลมากถึง ร้อยละ 76.8 รองลงมา คือ สามี บิดามารดาของตนเอง บิดามารดาของสามี และอื่นๆ (ร้อยละ 16.0 ร้อยละ 4.0 ร้อยละ 2.0 และร้อยละ 1.2) ตามลำดับ
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1175
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.