Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1170
Title: Factors Affecting Payment through Mobile Application in Convenience Stores of College Students in Bangkok
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการชำระเงินผ่าน Application ในร้านสะดวกซื้อของนักศึกษาในกรุงเทพ
Authors: Pongyeela, Adilla
Tantivisethsak, Pornthip
Chuasuwan, Amornsuda
อดิลล่า พงศ์ยี่หล้า
พรทิพย์ ตันตีวิเศษศักดิ์
อมรสุดา เชื้อสุวรรณ
Keywords: Cashless society
Personal factors
Application factors
Other related factors
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กฤตโสภา ทิพย์ปัญญาวงศ์. (2559). การศึกษาปัญหาและแรงจูงใจในการใช้งานเงินอิเล็กทรอนิกส์ (e-Money) ผ่าน โทรศัพท์มือถือในประเทศไทย. การค้นคว้าอิสระ ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
จิญาดา แก้วแทน.(2557). ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้บริการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านอุปกรณ์สมาร์ตโฟน : กรณีศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปทุมธานี. การคันคว้าอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชา การบัญชี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ธีรศักดิ์ คำแก้ว. (2557). การศึกษาความพึงพอใจของพนักงานที่ใช้แอพพลิเคชั่นสั่งสินค้าผ่านทางโทรศัพท์มือถือ: กรณีศึกษาร้านโซล จังหวัดชลบุรี. การคันคว้าอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
พิรัฐพงศ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา. (2552). ความตั้งใจใช้บริการธนาคารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ครั้งที่ 4 , 376-383. กรุงเทพ, มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
ภัคจิรา นิลเกษม. (2556). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้บริการธนาคารบนอินเตอร์เน็ตของลูกค้าธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี. การค้นคว้าอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย กรุงเทพ
มัทยา ศรีพนา(2562), สถานการณ์สังคมร้เงินสดของประเทศไทย, ค้นเมื่อ [25 กุมภาพันธ์ 2563] จาก https://www.senate.go.th/document/Ext22526/22526772 0002.PDF
ศูนย์วิจัยกสิกร (2563). ระบบชำระเงินดิจิทัลตัวช่วยSME. ค้นเมื่อ [25 กุมภาพันธ์ 2563] จาก https://kasikombank.com/th/business/sme/KSMEKnowledge/article/KSMEAnalysis/Documents/Digi tal-Payment_SME-Helper.pdf .
อรทัย เลื่อนวัน (2555). ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศะกรณีศึกษากรมการพัฒนาชุมชนศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ. การค้นคว้าอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
อังครักษ์ มีวรรณสุขสกุล. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจใช้ธุรกรรมการเงินผ่านนวัตกรรม 3G ของผู้บริโภคในเขต กรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
Amoroso DL, Magnier-Watanabe R. (2012). Building a Research Model for Mobile Wallet Consumer Adoption: The Case of Mobile Suica in Japan. Journal of Theoretical & Applied Electronic Commerce Research. 7(1), (94-110).
Dahlberg, T., Mallat, N., Ondrus, J.,Zmijewska A. (2008). Electronic commerce research and applications. ScienceDirect, 7(2), (165-181).
Davis, F. D.,Bagozzi, R. P., Warshaw, P. R. (1989). "User acceptance of computer technology: A comparison of two theoretical models", Management Science, 35 (8), (982-1003)
Donald L. A,, Magnier-Watanabe. R. (2012), R. Building a Research Model for Mobile Wallet Consumer Adoption: The Case of Mobile Suica in Japan. Journal of Theoretical and Applied Electronic Commerce Research, 7(1), (.95-110).
Kim, G., Shin, B., & Lee, H. G. (2009) . Understanding dynamics between initial trust and usage intentions of mobile banking. Information systems Journal, 19(3), (283-311).
Abstract: The research about factors affecting payment through mobile application in convenience stores of college students in Bangkok aimed to study personal factors, using application factors, and other factors affecting the payments through mobile application in convenience stores. The population was 200 college students both Thai and Chinese in Bangkok. Descriptive statistics used to analyst the data was frequency and percentage. Inferential Statistics used to test the hypotheses were t-test and F-test. It was found that the highest influencer was personal factors, the next was using application factors, and other related factors respectively. Most of the respondents were satisfied to use the application because of its convenience and no need to carry cash, save time and safety. The students who had different nationality, age, education, revenue, and experience had significant different opinions about factors affecting the decision making of paying toward application convenience stores.
การวิจัยเรื่องปัจจัยที่ส่งผลต่อการชำระเงินผ่าน Application ในร้านสะดวกซื้อของนักศึกษาในกรุงเทพโดยผ่าน โทรศัพท์มือถือมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล จจัยการใช้บริการผ่านแอพพลิเคชั่น และปัจจัยอื่นๆที่เกี่ยวข้องที่ ส่งผลต่อการชำระเงินผ่าน Application ในร้านสะดวกซื้อ ประชากรคือนักศึกษาไทยและจีนในกรุงเทพมหานคร ใช้ขนาด ตัวอย่าง 200คน สถิติเชิงพรรณนาที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคีอ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ สถิติเชิงอนุมานที่ใช้ทดสอบสมมติฐานได้แก่ t test และ F-test ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลมากที่สุดคือ ปัจจัยส่วนบุคคล รองลงมาคือ ปัจจัยการบริการผ่าน แอพพลิเคชั่น และปัจจัยอื่นๆที่เกี่ยวข้องตามลำดับ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความฟังพอใจในการใช้ เนื่องจ ากมีความ สะดวก ไม่จำเป็นต้องพกพาเงินสด ประหยัดเวลาและปลอดภัย นักศึกษาที่มีสัญชาติ อายุ การศึกษา รายได้ และประสบการณ์ ต่างกันมีความคิดเห็นแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการชำระเงินผ่านแอพลิเคชั่นที่ร้านสะดวกซื้อ
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1170
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Application.pdf199.47 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.