Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1158
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | Jindawattanaphum, Supitchar | - |
dc.contributor.author | สุพิชฌาย์ จินดาวัฒนภูมิ | - |
dc.date.accessioned | 2021-05-19T15:00:25Z | - |
dc.date.available | 2021-05-19T15:00:25Z | - |
dc.date.issued | 2020-07-09 | - |
dc.identifier.citation | กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม. (2550) จารึกเมืองศรีเทพ ใน อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ. (กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม. | - |
dc.identifier.citation | กรมศิลปากร. (2509) โบราณวิทยาเมืองอู่ทอง. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. | - |
dc.identifier.citation | กังวล คัชชิมา. จารึกแผ่นทองแดง ณ. พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อ.อู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี. คันเมื่อ 15 พฤษภาคม 2563. จาก https://db.sac.or.th/inscriptions/uploads/file/copper-plate-kangwon-new.pdf | - |
dc.identifier.citation | ชะเอม แก้วคล้าย. "จารึกบ้านวังไผ่," ใน จารึกที่เมืองศรีเทพ. กรุงเทพฯ : โครงการอุทยานประวัติศาสตร์ กองโบราณคดี กรมศิลปากร. | - |
dc.identifier.citation | ชะเอม แก้วคล้าย. (2529) "จารึกบ้านวังไผ่," ใน จารึกในประเทศไทย เล่ม 1 : อักษรปัลลวะ หลังปัลลวะ พุทธศตวรรษที่ 12-14. กรุงเทพฯ : หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. | - |
dc.identifier.citation | ชะเอม แก้วคล้าย. "ศรีทวารวดี, " ศิลปากร 34.2 (มีนาคม-เมษายน 2534) | - |
dc.identifier.citation | ดวงเดือน รุ่งแสงจันทร์ และอุไรศรี วรศะริน. (2524) "จารึกบนเหรียญเงิน (บ้านคูเมือง)," ใน จารึกโบราณรุ่นแรกพบที่ ลพบุรีและใกล้เคียง. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร. | - |
dc.identifier.citation | ดวงเดือน รุ่งแสงจันทร์ และอุไรศรี วรศะริน. (2529) "จารึกบนเหรียญเงิน (บ้านคูเมือง)," ใน จารึกในประเทศไทย เล่ม 1 : อักษรปัลลวะ หลังปัลลวะ พุทธศตวรรษที่ 12-14. กรุงเทพฯ : หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. | - |
dc.identifier.citation | ธิดา สาระยา. (2545) ทวารวดี : ต้นประวัติศาสตร์ไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. | - |
dc.identifier.citation | ผาสุข อินทราวุธ. "ผลการชุดค้นเมืองโบราณสมัยทวารวดีที่จังหวัดสิงห์บุรีและนครปฐม," เมืองโบราณ 10,4 (ตุลาคม- ธันวาคม 2527) | - |
dc.identifier.citation | ศรีศักดิ์ วัสลิโภดม. อีสานระหว่างพุทธศตวรรษที่ 12 - 16 เมืองโบราณ 3,1 (ตุลาคม-ธันวาคม 2549) | - |
dc.identifier.citation | ศักดิ์ชัย สายสิงห์. (2547) ศิลปะทวารวดี : วัฒนธรรมพุทธศาสนายุคแรกเริ่มในดินแดนไทย. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ | - |
dc.identifier.citation | รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรื่อง. (2558) ทวารวดีในอีสาน. กรุงเทพฯ: มติชน ภาษาอังกฤษ | - |
dc.identifier.citation | George Coedes. (1996) "Liste generale des inscriptions du Cambodge : K. 979," in Inscriptions du Cambodge vol. VIl. Hanoi : Imprimerie d'Extreme-Orient. | - |
dc.identifier.citation | George Coedes. (1964) "Nouvelles inscriptions de Si T'ep (K 978, K. 979)," in Inscriptions du Cambodge vol. VII. Hanoi : Imprimerie d'Extreme-Orient. | - |
dc.identifier.uri | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1158 | - |
dc.description.abstract | From the excavation at Nern Phra Ngam, Phra Ngam temple at Nakhon Pathom, besides the excavation of “demon’s terracotta sculpture”, there was one stone inscription in Dvaravati period in north of Nern Phra Ngam archaeological site on October 2nd, 2019. It made from gray stone in rectangle; the remaining parts were Sanskrit Palawan scriptwhich could be clearly read, mentioned the words “Dvaravatiwibhuti” meaned “The Great Person of Dvaravati”.That was confirmed the existence of city named “Dvaravati” and having leaders in government. Therefore, Dvaravati might be the region and the kingdom that had been occurred when the leaders, the governors and the aristocracy driven the society with their own citizen, territories, and sovereignty. The ruling classes and the upper classes comprised of King, royal family, masters and nobles. From the study of aerial photograph found that there were more than 63 ancient cities in Dvaravati period. The archeological surveys and excavations also found that almost ancient towns had the continuity of culture from prehistoric communities, developed to Dvaravati period when dealing with Indian civilization. So, that area of lower central of the river plain named Dvaravatimight come from the name of King, country, kingdom, royalty or names of a group of cities that had the same culture in the period around 11-16 Buddhist century, and being the country would have the governors and upper classes to support and govern their regions. With the discovery of Sanskrit inscription inPalawa letters aged around 13th Buddhist century on two silver coins at Nern Hin Ruins, near Phra Prathon Chedi temple, in Nakhon Pathom in 1943, mentioned “Sri Dvaravatisuanbhuya” could be translated as “The King Sri Dvaravati who had a noble merit”, the merit of the King of Sri Dvaravati or the merit of the lord of Sri Dvaravati. This evidence was the proof of evidence of governor and aristocracy. In addition to the above evidence, it could be studied from others archaeological evidences in Dvaravati period such as the inscription on terracotta, on copper plate, the wheel of Dharmachakra and etc. | en_US |
dc.description.abstract | จากการขุดแต่งโบราณสถานเนินพระงาม วัดพระงาม จังหวัดนครปฐม นอกจากมีการขุดค้นพบ "ประติมากรรม ดินผารูปอสูร" ยังได้พบศิลาจารึกสมัยทวารวดี ทางต้านทิศเหนือของเนินโบราณสถานวัดพระงาม จำนวน 1 หลัก เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2562 มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมฝืนผ้า ทำด้วยหินสีเทา ส่วนที่เหลือยังคงปรากฎรูปอักษรปัลลวะ ภาษาสันสกฤต บางส่วนที่สามารถอ่านได้อย่างชัดจน ได้กล่าวถึงคำว่า "ทวารวตีวิฏติ" แปลความได้ว่า "ผู้ยิ่งใหญ่แห่งทวารวดี" จึงเป็นการ ยืนยันถึงการมีตัวตนของบ้านเมืองนามว่า "ทวารวดี" และยืนยันการมีผู้นำในการปกครองดังนั้นการที่ทวารวดีอาจเป็นแคว้น และอาณาจักรที่ก่อเกิดขึ้นได้ ก็ต่อเมื่อมีผู้นำ ผู้ปกครอง และชนชั้นสูง เป็นตัวขับเคลื่อนสังคมที่มีประชารัฐ มีอาณาเขต และ อำนาจอธิปไตยเป็นของตนเอง ชนชั้นปกครอง และชนชั้นสูงประกอบด้วยพระมหากษัตริย์ เชื้อพระวงศ์ เจ้านาย และ ขุนนาง จากการศึกษาภาพถ่ายทางอากาศพบว่า มีมืองโบราณในช่วงสมัยทวารวดีมากกว่า 63 เมืองด้วยกัน จากการสำรวจ และขุดค้นทางโบราณคดียังพบว่าเมืองโบราณแทบทุกแห่งจะมีลักษณะความต่อเนื่องทางวัฒนธรรมจากชุมชนสมัยก่อน ประวัติศาสตร์ พัฒาการขึ้นมาสู่ช่วงสมัยทวารวดีเมื่อมีการติดต่อกับอารยธรรมอินเดีย ดังนั้นบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำภาคกลาง ตอนล่างดังกล่าวจึงปรากฏนามว่าทวารวดี ที่อาจเป็นชื่อกษัตริย์ บ้านเมือง อาณาจักร ชื่อราชวงศ์หรืออาจเป็นชื่อที่ใช้เรียก กลุ่มเมืองเจ้าของวัฒนธรรมแบบเดียวกัน ในช่วงประมาณพุทธศตวรรษที่ 11-16 และความเป็นบ้านเมืองย่อมมีผู้ปกครอง และ ช่นชั้นสูงในการทำนุบำรุง และปกครองแว่นแคว้นของตน มีการค้นพบจารึกภาษาสันสกฤต ตัวอักษรปัลลาวะ อายุราวพุทธ ศตวรรษที่ 13 บนเหรียญเงิน 2เหรียญ ที่โบราณสถานเนินหิน ใกล้วัดพระประโทนเจดีย์ จังหวัดนครปฐม เมื่อ พ.ศ.2486 ความว่า "ศรีทวารตีศวรปุญย" แปลได้ว่า "พระเจ้าศรีทวารดี ผู้มีบุญอันประเสริฐ" บุญกุศลของพระราชา แห่งศรีทวารวดี หรือ บุญของผู้เป็นเจ้าแห่งศรีทวารวดี หลักฐานดังกล่าวจึงเป็นหลักฐานถึงการมีอยู่จริง ของชนชั้นผู้ปกครอง และชนชั้นสูง นอกจากหลักฐานดังกล่าวก็สามารถศึกษาได้จากหลักฐานโบราณคดีสมัยทวารวดีประเภทอื่น ๆ ได้แก่ จารึกที่ ปรากฏบนแผ่นดินเผา แผ่นทองแดง และฐานธรรมจักร เป็นต้น | - |
dc.publisher | Nakhon Pathom Rajabhat University | en_US |
dc.subject | sculpture | en_US |
dc.subject | Dvaravati art | en_US |
dc.subject | Singha | en_US |
dc.title | Evidences of Governors and Aristocrats’ Existences in Dvaravati Period | en_US |
dc.title | หลักฐานการมีอยู่ของผู้ปกครอง และชนชั้นสูงสมัยทวารวดี | - |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
หลักฐานการมีอยู่ของผู้ปกครอง และชนชั้นสูงสมัยทวารวดี.pdf | 1.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.