Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1154
Title: Marketing Mix and Purchasing Behavior on Thai D essert of Consumer in Bangkok via Instagram
ส่วนประสมทางการตลาดและพฤติกรรมการซื้อขนมไทยของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานครผ่านอินสตาแกรม
Authors: Phuengphong, Nuanla-or
Samerjai, Chattayaporn
Vivadhnajat, Sasanant
นวลละออ พึ่งพงษ์
ศศนันท์ วิวัฒนชาต
ฉัตยาพร เสมอใจ
Keywords: Buying Behavior
Instagram
Marketing Mix
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: เจณิภา คงอิ่ม. (2559). การบริโภคขนมไทยของเยาวชนในเขตจังหวัดนนทบุรี. มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์.
จิราพร ขุนศรี. (2561). การสื่อสารการตลาด. คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย.
มณีรัตน์ รัตนพันธ์. (2559). พฤติกรรมการซื้อขนมพื้นบ้าน. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, ปีที่ 36 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559, หน้า 63-75.
สิริชัย ดีเลิศ และ เยาวลักษณ์ รวมอยู่. (2560). การใช้สื่อสังคมออนไลน์อินสตาแกรมเพื่อสร้างความสำเร็จในการรับรู้ ภาพลักษณ์ตราสินค้าของธุรกิจ. Veridian E-Journal, Silpakorn University, ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 เตือนมกราคม - เมษายน 2560, หน้า 1422-1438.
Armstrong, G. & Kotler, P. (2009). Marketing an introduction. (9thed.). New Jersey: Pearson Prentice Hall. Cochran, w.G. (1977). Sampling Techniques. 3d ed. New York: John Wiley and Sons Inc.
Kotler, P., and Keller, K. L. (2018). Marketing management. New Jersey: Prentice Hall.
Abstract: The purposes of this research were to study the marketing mix of Thai desserts and consumer buying behavior on Thai desserts in Bangkok via Instagram, to study the marketing mix of Thai dessert in Bangkok via Instagram classified by personal factors, and to study the relationship between personal factors and consumer buying behavior on Thai desserts in Bangkok via Instagram. A questionnaires was used as a tool for collecting data from 384 consumers, using a purposive sampling method. Data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, chi-square value, t-analysis, and One way ANOVA. The result of the research showed that the marketing mix in overall and all aspects were at the highest level. By giving the highest importance to marketing promotion Followed by the product side And the lowest price, respectively, by the aged consumer Education level And different incomes Give different importance to marketing mix Statistical significance at the level of .05 And gender had related with the buying behavior on Thai desserts on “the reason (Why)” and “the occasion to buy (When)”, age had related to the buying behavior on Thai desserts in all aspects. The average income had correlated with the buying behavior on Thai desserts in terms of “the types of Thai desserts purchased (What)”, “the reason (Why)”, “the channel of distribution (Where)”, “who participated (Whom)” and “the cost of buying / times (How)”, and the level of education had related to the buying behavior on Thai desserts in terms of “Why”, “Where”, “Whom”, and “how” at the statistically significant at .05 level.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาส่วนประสมทางการตลาดขนมไทยและพฤติกรรมการซื้อขนมไทยของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานครผ่านอินสตาแกรม โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 384 คน จากผู้บริโภคที่ซื้อขนมไทยผ่านอินสตาแกรมในเขตกรุงเทพมหานคร วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐน ค่าได้-สแควร์ การวิเคราะห์ค่าที่ และการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัย พบว่า ผู้บริโภคที่ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญกับส่วนประสมทางการตลาดทั้งในภาพรมและรายด้านในระดับมากที่สุด โดยให้ ความสำคัญกับด้านการส่งเสริมการตลาดสูงที่สุด รองลงมาเป็นด้านผลิตภัณฑ์ และด้านราคาต่ำที่สุด ตามลำดับ โดยผู้บริโภค ที่มีอายุ ระดับการศึกษา และรายได้ต่างกัน ให้ความสำคัญกับส่วนประสมทางการตลาดแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และเพศมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อขนมไทย ด้านเหตุผล (Why) และความถี่ในการซื้อ (When) อายุมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อขนมไทยทุกด้านรายได้เฉลี่ยมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อขนมไทย ด้านประเภทขนมไทยที่ซื้อ What เหตุผล (Why) ช่องทาง (Where) ใครมีส่วนร่วม (Whom) และค่าใช้จ่ายในการซื้อ/ครั้ง (How) และระดับการศึกษามีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อขนมไทย ด้านเหตุผล (Why) ช่องทาง (Where) ใครมีส่วนร่วม (Whom) และค่าใช้จ่ายในการซื้อ/ครั้ง (How) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1154
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.