Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/114
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวงษ์สอาด, สรวิชญ์-
dc.date.accessioned2018-12-06T08:34:52Z-
dc.date.available2018-12-06T08:34:52Z-
dc.date.issued2561-03-29-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/114-
dc.description.abstractจากการศึกษาวิเคราะห์เกณฑ์ตัดสินความดีในพุทธปรัชญาเถรวาท พบว่า “ความดี” ตรงกับคำว่า “บุญ” หรือ “กุศล” หมายถึง ความดี ที่เรียกว่า Objective good ซึ่งเป็นเกณฑ์การตัดสินจากพฤติกรรม ถือเอาเจตนาเป็นสำคัญมาตัดสินการกระทำ ดังที่ พุทธปรัชญาเถรวาท ถือว่า “ความดี” เป็นความประพฤติที่เป็นเกณฑ์ตัดสินในบรรทัดฐานของความประพฤติทั้งหลาย ซึ่งเป็นจริยศาสตร์ในการดำเนินชีวิต เพื่อให้มีชีวิตที่ดีและช่วยเหลือเกื้อกูลกัน โดยความสามารถอยู่ร่วมกันเป็นสังคมได้เป็น อย่างดี มีความสุข ในการดำเนินชีวิตที่ดีของชาวพุทธ 3 ประการด้วยกัน ก็คือ 1) เกณฑ์ตัดสินความดีขั้นพื้นฐาน ได้แก่ ศีล 5 ซึ่งเป็นข้อปฏิบัติฝ่ายศีลธรรมเป็นเบื้องต้น 2) เกณฑ์ตัดสินความดีขั้นกลาง เพื่อยกระดับคุณธรรมจริยธรรมให้สูงขึ้น ได้แก่ กุศล กรรมบถและเว้นอกุศลกรรมบถควบคู่กันไปด้วยนั้นเอง และ 3) เกณฑ์ตัดสินความดีขั้นสูงสุด ซึ่งเป็นจริยธรรมระดับสูงสุดที่ บุคคลประพฤติปฏิบัติตามแล้วจะห่างไกลจากข้าศึกภายในได้ ได้แก่ อริยอัฏฐังคิกมรรคหรือมรรคมีองค์ 8 นั้นเอง โดยการ พิจารณา คือ 1) พิจารณาว่าพฤติกรรมนั้น ๆ มีคุณและโทษต่อชีวิตอย่างไร หรือมีผลต่อบุคลิกภาพอย่างไร 2) พิจารณาว่า พฤติกรรมนั้น ๆ มีคุณหรือโทษต่อสังคมอย่างไร 3) พิจารณาว่าเป็นคุณหรือโทษต่อสังคมอย่างไร 4) พิจารณาด้วยมโนธรรม หรือ โดยสำนึกอันมีตามธรรมชาติของความเป็นมนุษย์ และ 5) พิจารณาจากมาตรฐานทางสังคม ตามกาลสมัยที่จะมิให้ถือกัน โดยงมงายหรือผิดพลาดคลาดเคลื่อน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมทางจริยธรรม ที่เป็นเกณฑ์ตัดสินความดี โดยสามารถพิจารณา ที่เจตนาของการกระทำของมนุษย์เป็นต้นen_US
dc.subjectเกณฑ์ตัดสินความดีen_US
dc.subjectพุทธปรัชญาเถรวาทen_US
dc.titleวิเคราะห์เกณฑ์ตัดสินความดีในพุทธปรัชญาเถรวาทen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 11th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
สรวิชญ์ วงษ์สอาด.pdf407.74 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.