Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1146
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorJanpeng, Nalinee-
dc.contributor.authorVajarintarangoon, Kovit-
dc.contributor.authorPoldech, Sripen-
dc.contributor.authorนลินี จันทร์เปล่ง-
dc.contributor.authorโกวิท วัชรินทรางกูร-
dc.contributor.authorศรีเพ็ญ พลเดช-
dc.date.accessioned2021-05-19T13:45:44Z-
dc.date.available2021-05-19T13:45:44Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationกนกกร ศิริสุข. (2557). ภาวะผู้ใฝ่บริการที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาในเขตจังหวัดสงขลา. ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาภาวะผู้นำ ทางการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยทักษิณ.-
dc.identifier.citationคมกฤช ประการะสังข์. (2559). ภาวะผู้นำแบบผู้รับใช้ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมในการบริหาร สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร มหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์.-
dc.identifier.citationเชษฐ์ดนัย ไชยเผือก. (2558). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำแบบผู้รับใช้ของผู้บริหารโรงเรียนในสังกัดอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ, วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.-
dc.identifier.citationประสิทธิ์ สุวรรณรักษ์. (2542). ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). บุรีรัมย์: สถาบัน ราชภัฏบุรีรัมย์.-
dc.identifier.citationไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2561). ความเป็นผู้นำทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.-
dc.identifier.citationองอาจ สิมเสน. (2556). ภาวะผู้นำใฝ่บริการของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.-
dc.identifier.citationBlanchard, K. H. (2006). Leadership at a higher level: Blanchard on leadership and creating high performing organization. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1146-
dc.description.abstractThis research aimed to study the servant leadership and development guidelines of principals under Surin provincial Office of the non-formal and informal education. The samples in this research were 191 teachers selected by simple random sampling. The instrument was a questionnaire which its reliability was .990. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, independent t-test, and analysis of variance (ANOVA). The semi-structured interviews were used to collect opinions’ from 5 purposive selected experts. The data obtained was analyzed using content analysis. The research findings showed 1) the servant leadership of principals were at high level 2) the teachers’ perceptions of the servant leadership of principals classified by work experiences were not statistically significant different 3) the principal development guidelines for servant leadership are followings the principal should observe the teaching staffs’ responses to new circumstances, give performance appraisals feedback to teaching staffs to enhance their confidence, listen to both positive and negative opinions, as well as learn from mistakes, aware of the weaknesses in the operational system then develop new appropriate approaches.en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำใฝ่บริการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุรินทร์ กลุ่มตัวอย่างเป็นครู จำนวน 191 คน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่ายด้วยการจับฉลาก เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .990 สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และ สัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ด้วยวิธีการเลือกแบบเจะจง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำใผ่บริการของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ใน ระดับมาก 2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของครู เกี่ยวกับภาวะผู้นำใผ่บริการของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตามประสบการณ์ การทำงาน โดยรวมไม่แตกต่างกัน 3) แนวทางกรพัฒนาภาวะผู้นำใผ่บริการของผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารควรสังเกต พฤติกรรมการตอบสนองของบุคลากรเมื่อต้องประสบกับสถานการณ์ใหม่ ยกย่องความสำเร็จที่เกิดจากการตัดสินใจในการ ปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดความมั่นใจในตนเองมากยิ่งขึ้น รับฟังความคิดเห็นทั้งเชิงบกและเชิงลบ ตลอดจนเรียนรู้ความผิดพลาด ที่เกิดจากการทำงาน ตระหนักถึงจุดอ่อนที่มีอยู่ในระบบการทำงานและนำมาใช้ในการพัฒนาวิธีการทำ-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectPrincipal,en_US
dc.subjectSurin Provincial Office of the Non-formal and Informal Educationen_US
dc.subjectServant leadershipen_US
dc.titleThe Servant Leadership and Development Guidelines for Principals under Surin Provincial Office of the Non - Formal and Informal Educationen_US
dc.titleสภาพและแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำใฝ่บริการของผู้บริหารสถนศึกษา สังกัดสำนักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุรินทร์ งานที่เหมาะสมยิ่งขึ้น-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.