Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1143
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | Poldech, Sripen | - |
dc.contributor.author | Vajarintarangoon, Kovit | - |
dc.contributor.author | Somporn, Santisook | - |
dc.contributor.author | สันติสุข สมพร | - |
dc.contributor.author | โกวิท วัชรินทรางกูร | - |
dc.contributor.author | ศรีเพ็ญ พลเดช | - |
dc.date.accessioned | 2021-05-19T13:35:03Z | - |
dc.date.available | 2021-05-19T13:35:03Z | - |
dc.date.issued | 2020-07-09 | - |
dc.identifier.citation | ฉวีวรรณ หอมรักษ์. (2558). สภาพและปัญหาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารโรงเรียน ขยายโอกาสทาง การศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร มหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. | - |
dc.identifier.citation | ทิพวัลย์ นนทเภท. (2559). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกรบริหารของสถานศึกษา ในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครศรธีรรมราช เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหาร การศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. | - |
dc.identifier.citation | ประสิทธิ์ สุวรรณรักษ์. (2542) ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). บุรีรัมย์: สถาบันราช ภัฏบุรีรัมย์. | - |
dc.identifier.citation | พลากร ธีกุล. (2559). การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาของ โรงเรียนเครือข่ายพัฒนา คุณภาพ เครือข่ายที่ 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บันฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. | - |
dc.identifier.citation | ศราวุธ แจ้งสุขและสุทิศ1 ซองเหล็กนอก. (2560). แนวทางการพัฒนาทักษะการใช้ไอซีทีของครูกลุ่มโรงเรียนดีประจำตำบล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 23. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา วิทยาการสารสนเทศและเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. | - |
dc.identifier.citation | ศิวพร ศรีมังคละ. (2561). สมรรถนะด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารพื้นฐาน ของครูสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการ สารสนเทศและเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร. | - |
dc.identifier.citation | แสงอรุณ บัวกนก. (2558). การใช้ทคนโลยีสารสนเทศในการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษาเครือข่ายส่งเสริม ประสิทธิภาพการศึกษาสงเคราะห์ ภาคเหนือ กลุ่มย่อยที่ 6. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระตับชาติ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ครั้งที่ 2 (800 - 807). กำแพงเพชร: มหาวิทยาลัยราชภัฏ กำแพงเพชร. | - |
dc.identifier.citation | สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นราน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรมระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. | - |
dc.identifier.citation | Madiha, S. (2013). Impact of Management Information Systems (MIS) on School Administration: What the Literature Says (2799-2804). 5'ed. Rome, Italy: Elsevier. | - |
dc.identifier.uri | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1143 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research were 1) to study states of information technology management for learning in Thailand Education 4.0 according to teachers’ perception in schools under Secondary Educational Service Area Office 32; and 2) to compare teacher’ perception towards the states of information technology management in school classified by educational level and age. The study was a survey research. The sample consisted of 331 teachers obtained by stratified random sampling. The instrument used to collect the data was questionnaire with a reliability level of 0.94. The statistics used for analyzing data were mean, standard deviation and percentage. The results of the study were as follows: 1) The states of information technology management for learning in Thailand Education 4.0 according to teachers’ perception in schools under Secondary Educational Service Area Office 32 were at a high level in overall aspect. When considering in each aspect, it was found that the aspect of fundamental document processing was at the highest level followed by the aspect of basic presentation and the basic internet usage while the aspect of digital security received the lowest mean score. 2) The opinions of teachers in schools under Secondary Educational Service Area Office 32 with different educational levels and ages towards the perception of information technology management for learning were different. | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ สำหรับการศึกษา ประเทศไทย 4.0 ตามการรับรู้ของครู 2) เพื่อเปรียบเทียบสภาพการรับรู้ของครูที่มีต่อการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ เรียนรู้ในโรงเรียน จำแนกตามวุฒิการศึกษา และอายุ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 เป็นการวิจัยเชิง สำรวจ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ครูในโรงเรียน จำนวน 331 คน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบสอบถามความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับการรับรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา ที่มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.94 สถิติที่ ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการบริหารเทคโนโลยี สารสนทศเพื่อการเรียนรู้สำหรับการศึกษาประเทศไทย 4.0 ตามการรับรู้ของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 32 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านพื้นฐานงานเอกสารประมวลผลคำ มีค่าเฉลี่ย สูงสุด รองลงมาคือ ด้านพื้นฐานการนำเสนองาน และต้านพื้นฐานการใช้งานอินเทอร์เน็ตอยู่ในระดับมาก ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ย ต่ำสุดคือ ด้านการใช้ดิจิทัลเพื่อความมั่นคงปลอดภัย ซึ่งอยู่ในระดับมาก 2) ครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 32 ที่มีวุฒิการศึกษา และอายุต่างกัน มีความคิดเห็นต่อสภาพการรับรู้การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ การเรียนรู้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | - |
dc.publisher | Nakhon Pathom Rajabhat University | en_US |
dc.subject | Administrative Information Communication Technology for Learning | en_US |
dc.subject | Thailand Education 4.0 | en_US |
dc.subject | Perception of Teachers | en_US |
dc.title | States of Information Technology Management for Learning in Thailand Education 4.0 era according to Teacher’ Perception in Schools under Secondary Educational Service Area Office 32 | en_US |
dc.title | สภาพการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้สำหรับการศึกษาประเทศไทย 4.0 ตามการรับรู้ของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 | - |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
สภาพการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้สำหรับการศึกษาประเทศไทย 4.0.pdf | 175.51 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.