Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1140
Title: The Development of Interactive Learning 2D with Cooperative Learning using STAD in Subject History for Grade 5 of Banthamaka school
การพัฒนาบทเรียนแบบปฏิสัมพันธ์ 2 มิติร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD วิชา ประวัติศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านท่ามะกา
Authors: Kumkongkeaw, A-tima
Srichailard, Uraiwan
อาทิมา คำกองแก้ว
อุไรวรรณ ศรีไชยเลิศ
Keywords: Interactive Learning 2D
Cooperative Learning
STAD
History
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตร แห่งประเทศไทยจำกัด 10900.
ณัฐกร สงคราม. (2557). การออกแบบและพัฒนามัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : วี.พริ้นท์ (1991) จำกัด.
ดาวรถา วีระพันธ์ และภูษณิศา ม่วงเกษม. (2561). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 8(3), 38-47.
ประภาพันธ์ บุญยัง สพลณภัทร์ ศรีแสนยงค์ และสมสิริ สิงห์ลพ. (2559). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องระบบนิเวศ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 18(4), 223-237.
มณีรัตน์ คงพะเนา สิทธิศักดิ์ จุลศิริพงษ์ และลลิตา ธงภักดี. (2559). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้ อาณาจักรสุโขทัย และพฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิค STAD ร่วมกับวิธีการทางประวัติศาสตร์. วารสารราชพฤกษ์, 14(3), 111-118.
ยลดา กุมารสิทธิ์ และอัจฉรีย์ พิมพิมูล. (2560). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศ วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2, วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์, 12(1) : 129-136.
วัลยา บุญอากาศ. (2556). ผลการจัดการเรียนร้ แบบร่วมมือ เทคนิค STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการ คิดวิเคราะห์วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏ รำไพพรรณี.
ศราวุธ ดิษฐ์สุข. (2562). ทัศนคติที่มีต่อวิชาประวัติศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนฟีนิกซ์วิทยา (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ 13 พฤษภาคม 2563, จาก http://anyflip.com/ttbh/sgyz/basic
อุไรวรรณ ศรีไชยเลิศ และกฤช สินธนะกุล. (2560). การพัฒนาเว็บช่วยสอนบนระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ตามแผน การสอนแบบฐานสมรรถนะร่วมกับการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้กระบวนการ MIAP วิชา คอมพิวเตอร์กราฟิกและ แอนิเมชัน. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 16(3), 83-91.
Abstract: The purpose of this research were to 1) development of Interactive learning 2D with cooperative learning using STAD in subject history, 2) efficiency of Interactive learning 2D with Cooperative Learning using STAD, 3) compare learning achievement pretest and posttest of students, 4) study the students' satisfaction. The sample group used in this research are Grade 5/1 students at Banthamaka school Thamaka Kanchanaburi year of education 2562 was 30 people from a simple random selection method. The tools used in this research were 1) Interactive Learning 2D with Cooperative Learning using STAD in subject History for Grade 5, 2) Achievement test, 3) Evaluation form satisfied. The statistics used in data analysis are mean, standard deviation, difficulty, KR-20, Percentage and t-test dependent. The results of the research were as follows 1) Interactive Learning 2D with Cooperative Learning using STAD quality is the higher level , 2) The performance of Interactive Learning 2D with Cooperative Learning using STAD have a value of 87.83/80.22 which were higher than the specified criteria of 80/80, 3) Results Student learning achievement on Interactive Learning 2D posttest(= 17.56, SD.=1.38) significantly higher than pretest (T= 11.7, SD. = 2.39) at the statistical significance of .05, 4) The satisfaction of learners was at a high level.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสค์เพื่อ 1 พัฒนาบทเรียนแบบปฏิสัมพันธ์ 2 มิติร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมอโดยใช้ เทคนิ STAD วิช ประวัติศาสตร์ 2) หาประสิทธิภาพบทเรียนแบบปฏิสัมพันธ์ 2 มิติร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้ เทคนิค STAD 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน 4 ศึกษาความฟังพอใจของนักเรียนที่มีต่อ บทเรียนและรูปแบบการเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย อ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนบ้านท่ามะกา ปีก ารศึกษา 2562 จำนวน 30 คน ได้จากวิธีการเลือกแบบสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1 บทเรียนแบบ ปฏิสัมพันธ์ 2 มิติร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD วิชา ประวัติศาสตร์ สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3 แบบประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความยากง่าย ค่าความเชื่อมั่น KR-20 ค่าร้อยละ และ t-test dependent ผลการวิจัยพบว่า 1 บทเรียนทีพัฒนาขึ้น มีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์มากที่สุด 2) ประสิทธิภาพของบทเรียนแบบ ปฏิสัมพันธ์ 2 มิติร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD มีค่าเท่ากับ 87.83/80.22 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน (X = 17.56, 5.D. = 1.38) สูงกว่าก่อนเรียน (X = 11.7, S.D. = 2.39) อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 4) ความงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนแบบปฏิสัมพันธ์ 2 มิติร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้ เทคนิค STAD อยู่ในระดับมาก
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1140
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.