Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1135
Title: The development of knowledge management process model for administration officials in office of the attorney general
การพัฒนารูปแบบตามกระบวนการการจัดการความรู้ สำหรับข้าราชการธุรการสำนักงานอัยการสูงสุด
Authors: Puangto, Poonyawee
Cruthaka, Chomsupak
Chancharoen, Duangduen
ปุณยวีร์ พวงโต
ชมสุภัค ครุฑกะ
ดวงเดือน จันทร์เจริญ
Keywords: Model
Knowledge management processes
Administration officials in Office of the Attorney General
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: วิราภรณ์ บุญเพ็ชร์. (2557). รูปแบบการจัดการความรู้ธุรกิจชุมชนในกรุงเทพมหานคร. ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎี บัณฑิต สาขาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วิลาวรรณ รพีพิศาล. (2554). ความรู้พื้นฐานในการบริหารทรัพยากรมนุษย์. (หน้า 1-9). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์วิจิตรหัตถกร.
สำนักงานอัยการสูงสุด. (2552). แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากร สำนักงานอัยการสูงสุด พ.ศ.2553-2556. (หน้า 3-4). กรุงเทพฯ : สำนักงานอัยการสูงสุด.
สำนักงานอัยการสูงสุด. (2561). เอกสารข้อมูลของข้าราชการธุรการสำนักงานอัยการสูงสุด จากสำนักบริหารทรัพยากร บุคคล. (เอกสารสำเนา).
Beaulieu, A. (2001). Managing knowledge. A Review of the Current Literature, 2(3), 173-193.
Coakes, E., Amar, A. D., & Granados, L. M. L. (2010). Knowledge management, strategy, and technology: A global snapshot. Journal of Enterprise Information Management, 23(3), 282-304.
Comrey, A. L., & Lee, H. B. (1992). A First Course in Factor Analysis (2nd ed.). New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates.
Demarest. (1997). Understanding knowledge management. Journal of Long Range Planning, 30(3), 374- 384
Hall, H. L. (2005). Knowledge management in times of change: Tacit and explicit knowledge transfers. Dissertation Abstracts International, 67(1), 347-A. (UMI No. 3206086)
Rhodes, J., Richard, H., Peter, L., Bella, Y., Hui, L., & Chi-Min,. (2008). Factors influencing organizational knowledge transfer: Implication for corporate performance. Journal of Knowledge Management, 72(3), 84-100.
Abstract: The purposes of this research were to study the components of knowledge management process, For the development of an appropriate knowledge management process model and To assess of an appropriate knowledge management process model for administration officials in Office of the Attorney General. The research process has 3 steps as follows: Study the composition of the knowledge management process, The sample consisted of 370 administration officials in Office of the Attorney General, By using statistics of survey component analysis. Develop the model of knowledge management process that is appropriate from 5 experts and Assessment the model according to the knowledge management process, By group discussion of 9 experts find the average Standard deviation. The results of the research were as follows: 1) Survey components of the knowledge management process, consisting of 6 elements, all of which can explain 70.158%. 2) Develop the model of knowledge management process that is appropriate, consisting of 6 steps as follows: Knowledge Acquisition, Knowledge Creation, Knowledge Storage, knowledge Transfer and Utilization, knowledge Adoption and knowledge management assessment and 3) Assessment the model of knowledge management process that is appropriate, in general and Every aspect is useful Possibility And the suitability of the format Have a high level of average.
งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาองค์ประกอบของกระบวนการการจัดการความรู้ การพัฒนารูปแบบตาม กระบวนการการจัดการความรู้ที่เหมาะสม และประเมินรูปแบบตามกระบวนการการจัดการความรู้ที่เหมาะสมสำหรับ ข้าราชการธุรการสำนักงานอัยการสูงสุด โดยมีขั้นตอนการวิจัย 3 ขั้นตอน ดังนี้ ศึกษาองค์ประกอบของกระบวนการการ จัดการความรู้ จากกลุ่มตัวอย่างข้าราชการธุรการสำนักงานอัยการสูงสุด จำนวน 370 คน โดยใช้สถิติการวิเคราะห์ องค์ประกอบเชิงสำรวจ พัฒนารูปแบบตามกระบวนการการจัดการความรู้ที่เหมาะสม จากผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน และ ประเมินรูปแบบตามกระบวนการการจัดการความรู้ โดยการสนทนากลุ่มของผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน ใช้สถิติการวิเคราะห์ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบเชิงสำรวจของกระบวนการการจัดการความรู้ มี 6 องค์ประกอบ ซึ่งทุก องค์ประกอบสามารถร่วมกันอธิบายได้ร้อยละ 70.158 2) การพัฒนารูปแบบตามกระบวนการการจัดการความรู้ที่เหมาะสม ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ดังนี้ การแสวงหาความรู้ การสร้างความรู้ การจัดเก็บความรู้ การถ่ายโอนและเผยแพร่ความรู้ การนำความรู้ไปใช้ และ การประเมินการจัดการความรู้ และ 3) การประเมินรูปแบบตามกระบวนการการจัดการความรู้ที่ เหมาะสมในภาพรวมและทุกด้าน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1135
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.