Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1134
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorMalee, Ruchira-
dc.contributor.authorThamrongsotthisakul, Wichian-
dc.contributor.authorรุจิรา มาลี-
dc.contributor.authorวิเชียร ธำรงโสตถิสกุล-
dc.date.accessioned2021-05-19T12:12:40Z-
dc.date.available2021-05-19T12:12:40Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationกระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ภาษาจีน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา.-
dc.identifier.citationชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2556). การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย. 5(1), 7-19.-
dc.identifier.citationเชิดศักดิ์ บุญชูศรี. (2553). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ วิชาห่นยนต์อุตสาหกรรม สำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง แผนกวิชาแมคคาทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคนครราชสีมา. การศึกษาค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน.-
dc.identifier.citationโชติกานต์ ใจบุญ. (2559). กลยุทธ์การจำและการสอนภาษาจีน. Proceeding. การประชุมวิชาการนำเสนอ บทความ วิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, กรุงเทพมหานคร. 29 – 40.-
dc.identifier.citationซู รุ่ย. (2560). ข้อพินิจเกี่ยวกับ “การสอนตัวอักษรจีน”. วารสารสถาบันขงจื่อ. 6(45), 54 – 61.-
dc.identifier.citationถวัลย์ มาศจรัส และคณะ. (2550). นวัตกรรมการศึกษาชุด แบบฝึกหัด-แบบฝึกเสริมทักษะเพื่อพัฒนาผู้เรียนและการ จัดทำผลงานวิชาการของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ธารอักษร.-
dc.identifier.citationนรินทชัย ฮะภูริวัฒน์. (2555). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนภาษาจีนตามแนวคิดการเรียนรู้แบบเน้นงานปฏิบัติ โดยเทคนิคการจำอักษรจีนแบบเชื่อมโยง เพื่อเสริมความสามารถในการอ่านของนักศึกษาปริญญาตรี. ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.-
dc.identifier.citationศูนย์ข่าวการศึกษาไทย. (2556). ความสำคัญของภาษาจีนในประเทศไทย. ค้นเมื่อ 20 ตุลาคม 2559 จาก http://blog.eduzones.com/enn/121114-
dc.identifier.citationสุนันทา สุนทรประเสริฐ. (2544). การผลิตนวัตกรรมการเรียนการสอน การสร้างแบบฝึก. ชัยนาท: ชมรมพัฒนาความรู้ด้าน ระเบียบกฎหมายและพัฒนามาตรฐานวิชาชีพครู.-
dc.identifier.citationหลี่ หยาง. (2554). การพัฒนาแบบฝึกการเขียนตัวอักษรจีนสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.-
dc.identifier.citationอารี พันธ์มณี. (2546). จิตวิทยาสร้างสรรค์การเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: ใยไหมครีเอทีฟ กรุ๊ป.-
dc.identifier.citationอิสรา อินปั๋น. (2557). การพัฒนาแบบฝึกทักษะการเขียนอักษรจีน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียน กาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาจีน บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.-
dc.identifier.citationอุบลวรรณา ภวกานันท์. (2556). จิตวิทยาการเรียนรู้ คิด และปัญญา. กรุงเทพฯ: บริษัท ไอดีออล ดิจิตอลพริ้นท์ จำกัด.-
dc.identifier.citationLiYuying.(2016).从中泰两国文字差异看泰国学生汉字书写偏误An Explore of Writings from the Difference of Chinese Character and Thailand Letter. Shuoshi Xuewei Lunwen, Guangxi Shifan Daxue.-
dc.identifier.citationLiu Jingnian.(2011).汉字结构研究The Structure of Chinese Characters.Boshi Xuewei Lunwen, Jilin Daxue.-
dc.identifier.citationOxford, R. (1990). Language learning strategies: What every teacher should know. New York: Newbury House.-
dc.identifier.citationPengLu.(2015). 汉字故事运用于对外汉字教学的实证研究ShuoshiueweiLunwenu Daxue.-
dc.identifier.citationYeBinjie.(2014). 以部件为核心的对外汉字教学方案设计ShuoshiueweiLunwenZhejing Daxue.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1134-
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to construct the writing practice of Chinese compound characters using associative memory techniques for Chinese character recognition of 10th grade students and to find the efficiency of the writing practice with the 75/75 criterion 2) to compare the students’ Chinese characters writing ability before and after using the writing practice and 3) to study the students’ satisfaction towards the writing. The samples were 38 of 10th grade students in the second semester of academic year 2018 of Khaosai Thapklo Phittaya School chosen by purposive sampling method. The instruments used for data collection were 1) the writing practice of Chinese compound characters using associative memory techniques for Chinese character recognition, 2) the Chinese characters writing ability tests and 3) the questionnaire of students’ satisfaction toward learning by the writing practice. The data were analyzed by mean, standard deviation, and dependent sample t-test. The results were as follows: 1) The efficiency of the writing practice using associative memory techniques for Chinese character recognition of 10th grade students was 78.34/76.58 which exceeded the criteria of 75/75. 2) The students’ Chinese character writing ability after learning through the writing practice was significantly higher than that before studying at the .05 level. 3) The students had high level satisfaction towards the writing practice of Chinese compound characters ( = 4.49, S.D. = 0.56).en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างแบบฝึกการเขียนอักษรจีนแบบตัวอักษรประสม โดยใช้เทคนิคการจำ อักษรจีนแบบเชื่อมโยง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ให้มีประสิทธิภาพของตามเกณฑ์ 75/75 2) เพื่อเปรียบเทียบ ความสามารถในการเขียนอักษรจีนก่อนและหลังเรียนด้วยแบบฝึก และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ การเรียนด้วยแบบฝึก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเขาทรายทับคล้อพิทยา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 38 คน ซึ่งได้มาด้วยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบฝึกการเขียนอักษรจีนแบบตัวอักษรประสม โดยใช้เทคนิคการจำอักษรจีนแบบเชื่อมโยง 2) แบบทดสอบความสามารถ ในการเขียนอักษรจีน และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยแบบฝึก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า 1) แบบฝึกการเขียนอักษรจีนแบบตัวอักษรประสม โดยใช้เทคนิคการจำอักษรจีนแบบเชื่อมโยง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 78.34/76.56 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 2) ความสามารถ ในการเขียนอักษรจีนของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) ความพึงพอใจของ นักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกการเขียนอักษรจีนแบบตัวอักษรประสม อยู่ในระดับมาก ( = 4.49, S.D. = 0.56)-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectWriting practiceen_US
dc.subjectChinese characters writingen_US
dc.subjectAssociative Memory Techniques for Chinese Character Recognitionen_US
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF THE WRITING PRACTICE OF CHINESE COMPOUND CHARACTERS USING ASSOCIATIVE MEMORY TECHNIQUES FOR CHINESE CHARACTER RECOGNITION OF 10TH GRADE STUDENTSen_US
dc.titleการพัฒนาแบบฝึกการเขียนอักษรจีนแบบตัวอักษรประสม โดยใช้เทคนิคการจำอักษรจีนแบบเชื่อมโยง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.