Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1129
Title: The Development of a Model of Interpretations of Historical Tourism with QR CODE System for Self - Reliance in Information Perception at Wat Phra Pathom Chedi Ratcha Wora Maha Wihan, Muang District, Nakhon Pathom Province
การพัฒนารูปแบบการสื่อความหมายทางการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ด้วยระบบคิวอาร์โค้ด (QR CODE) เพื่อการรับรู้ข้อมูลแบบพึ่งพาตนเอง วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม
Authors: Dokchan, Thanawat
Sapachai, Juthamas
Samkamnil, Somnikarn
Pinwhan, Sitanun
Chaichoke, Yaowadee
ธนวรรษ ดอกจันทร์
จุฑามาศ สภาชัย
สมณิกาญจน์ สามคำนิล
สิตานัน ปิ่นแหวน
เยาวดี ชัยโช
Keywords: Historical Tourism,
QR Code System and Wat Phra Pathom Chedi Ratcha Wora Maha Wihan
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กรมการท่องเที่ยว. (2557). คู่มือการตรวจประเมินมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2: กรุงเทพฯ.โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์.
คณะกรรมการกลุ่มผลิตชุดวิชาการสร้างสรรค์และการผลิตภาพยนต์เบื้องต้น. (2544). การสร้างสรรค์และการผลิตภาพยนตร์ เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 13: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
คณะพระวัดพระปฐมเจดีย์ฯ. (2546). ประวัติวัดในจังหวัดนครปฐม. กรุงเทพฯ: บริษัท ออนป้า จำกัด.
ทิพาพร ไตรบรรณ์. (2557). แนวทางการพัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ วัดพระปฐมเจดีย์ราช วรมหาวิหาร อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม. (วิทยานิพนธ์ปริญญาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม).
เทิดชาย ช่วยบำรุง. (2552). การศึกษาองค์ประกอบทางการท่องเที่ยวและการมีส่วนรวมของชุมชน ที่มีผลต่อความยั่งยืน ทางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศเขาสันหนอกวัว(อุทยานแห่งชาติเขาแหลม). (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย ศิลปากร).
ปราณี ตันประยูร และกิติมา ทามาลี. (2561). การจัดการการท่องเที่ยวอยุธยาเมืองมรดกโลก. วารสารไลยอลงกรณ์ ปริทัศน์. ปีที่: 8 ฉบับที่: 3 ,2561. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา).
ผกามาศ ผจญแกล้ว. (2553). การศึกษาค่าสีทางการพิมพ์บนกระดาษจากการพิมพ์ระบบออฟเซต. ทุนจากมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทา.
พยอม ธรรมบุตร. (2559). เอกสารประกอบการสอน สถาบันพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่ออนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม . (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ).
พระพรหมเวที. (2562). ปฐมมนต์. พิมพ์ครั้งที่: 16 กาญจนบุรี: สหายพัฒนาการพิมพ์.
วิศปัตย์ ชัยช่วย. (2560). การใช้LINEของผู้สูงอายุ: การศึกษาเชิงปรากฎการณ์วิทยา. 10(1). 905 – 918.
สุนา ผาด่านแก้ว. (2556). ศักยภาพของท้องถิ่นต่อการบริหารจัดการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ วัดขุนพนม ตำบลบ้าน เกาะ อำเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช . (วิทยานิพนธ์ปริญญาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครศรีธรรมราช).
อรวรรณ ปิลันธน์โอวาท. (2558). การพัฒนาเทคนิคการสื่อความหมายทางการท่องเที่ยวด้วยรหัสคิวอาร์. (วิทยานิพนธ์ปริญญาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี).
Best, J.W. (1981). Research in Education. New Jersey: Prentice – Hall.
Dickman. (2016). พฤติกรรมนักท่องเที่ยวชาวไทย ในการท่องเที่ยวเชิงศาสนา พระธาตุประจำวันเกิด จังหวัดนครพนม. สำนักวิทยบริการ: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
บุญ ยิ่ง คงอาชาภัทร และคณ ะ. (2561). การทำการตลาดกับกลุ่มผู้สูงอายุ. 13 พฤศจิกายน 2562 จาก https://www.ryt9.com/s/prg/ 2881728.
ป ระ ช าช าติธุรกิจ . (256 1 ). ก ระแ ส ก ารท่อ งเที่ย ว เชิงป ระวัติศ าส ต ร์. ค้น เมื่อ 7 สิงห าค ม 2562 จ าก https://www.prachachat.net/tourism/news-136804.
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2562). กระแสการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ปี 2561. ค้นเมื่อ 7 สิงหาคม 2562 จาก https://www.kasikornbank.com/th.
สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครปฐม. (2557). ม.ป.ป. องค์พระปฐมเจดีย์. ค้นเมื่อ 7 สิงหาคม 2562 จาก http://www.nakhonpathom. go.th/content/history.
Abstract: The Development of a Model of Interpretations of Historical Tourism with QR CODE System for Self - Reliance in Information Perception at Wat Phra Pathom Chedi Ratcha Wora Maha Wihan, Muang District, Nakhon Pathom ProvinceThe purposes of this research were: 1) to study the area context of Wat Phra Pathom Chedi; 2) to study the development of interpretations with QR CODE system that is consistent with tourists information perception behavior and 3) to develop a model of interpretations of historical tourism with QR CODE system for self - reliance in information perception. This study was a qualitative and quantitative methods. Data were collected from related documents, in - depth interview from people involved in historical tourism in there. The sample was divided into 4 groups, namely government agencies, entrepreneurs, community and Thai tourists, totaling 41 individuals. Furthermore, data on the satisfaction with the developed QR CODE system were collected by distributing copies of questionnaire to 384 (Taro Yamane Theory) Thai tourists. Data were analyzed according to study issues and then synthesized before presentation through descriptive statistics.The results of this research are 1. Wat Phra Pathom Chedi previously was the first pagoda in Thailand, built during until the present. In addition, it was architecturally built under integrated arts of each era and artistic blending, making this pagoda unique and different from the same type of pagodas in Thailand. Its uniqueness can be noticed by the structure of three overlapping pagodas in 3 artist styles. 2. The interpretations using QR CODE system are suitable for tourists with an average age of 18 - 29 years. The developed system is easy to use, convenient and suitable for use via smart phone. In case of extension for tourist, it should be scanned via LINE application to know information about that. And 3. The QR CODE system was developed for self-reliance information perception that consists of useful content, namely: the history of all 5 ancient artifacts as follows: 1st spot is the history and general information; 2nd spot was the history and various stories of Phra Ruang Rotchanarit stationed in the northern direction; 3rd spot was the history and details of fine arts in the Grand Hall of the eastern direction; 4th spot was the history and stories ofthe white stone Buddha statue in the southern direction; and 5th spot was the history and stories of the various Buddha statues stationed inside the Wihan of Reclining Buddha in the western direction.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาบริบทพื้นที่วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร 2) เพื่อศึกษาการพัฒนาการ สื่อความหมายด้วยระบบคิวอาร์โค้ด (QR CODE) ที่สอดคล้องต่อพฤติกรรมการรับรู้ข้อมูลของนักท่องเที่ยว 3) เพื่อการพัฒนา รูปแบบการการสื่อความหมายทางการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ด้วยระบบคิวอาร์โค้ด (QR CODE) เพื่อการรับรู้ข้อมูลแบบ พึ่งพาตนเอง เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและปริมาณ เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐ ผู้ประกอบการ ชุมชน และนักท่องเที่ยวชาวไทย รวมจำนวน 41 คน และแบบสอบถามความ พึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อการพัฒนาระบบคิวอาร์โค้ด จำนวน 384 คน วิเคราะห์ข้อมูลตามประเด็นศึกษา จากนั้นสังเคราะห์ข้อมูลและนำเสนอผลการศึกษาแบบบรรยายเชิงพรรณนา จากการศึกษาพบว่า 1. ในอดีตวัดพระปฐมเจดีย์ ราชวรมหาวิหารเป็นมหาเจดีย์แห่งแรกของประเทศไทย ที่มีการบูรณะปฏิสังขรณ์พระสถูปเจดีย์คงมีการกระทำต่อเนื่องมา จนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้พบว่ามีการผสมผสานกันของศิลปะในแต่ละยุคและการผสมผสานกันทางศิลปกรรมยังทำให้องค์เจดีย์ มีอัตลักษณ์แตกต่างจากองค์เจดีย์รูปแบบเดียวกันในประเทศไทยที่สร้างครอบทับกันถึง 3 องค์ 3 ศิลปะ 2. สื่อคิวอาร์โค้ดเป็น สื่อที่เหมาะสมกับนักท่องเที่ยวที่มีช่วงอายุเฉลี่ยระหว่าง 18 - 29 ปี ใช้งานง่ายสะดวกเหมาะสมกับการเปิดใช้งานผ่านสมาร์ท โฟน (Smart Phone) สามารถใช้งานได้กับนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวโดยการสแกนผ่านระบบแอพพลิเคชั่นไลน์ (Line) เพื่อชมและรับฟังข้อมูลของแหล่งท่องเที่ยว 3. การพัฒนารูปแบบการสื่อความหมายทางการท่องเที่ยวเชิง ประวัติศาสตร์ด้วยระบบคิวอาร์โค้ดเพื่อการรับรู้ข้อมูลแบบพึ่งพาตนเองมีการทำระบบคิวอาร์โค้ดที่นักท่องเที่ยวสามารถรับรู้ ข้อมูลได้ด้วยตนเอง โดยภายในระบบคิวอาร์โค้ดมีประวัติเกี่ยวกับวัตถุโบราณทั้งหมด 5 จุดสำคัญขององค์พระปฐมเจดีย์ ได้แก่ จุดที่ 1 เรื่องราวประวัติความเป็นมาและข้อมูลทั่วไปขององค์พระปฐมเจดีย์ จุดที่ 2 ประวัติความเป็นมาและเรื่องราวต่าง ๆ ของพระร่วงโรจนฤทธิ์ทางด้านทิศเหนือ จุดที่ 3 ประวัติความเป็นมาและรายละเอียดงานศิลปกรรมต่าง ๆ ภายในวิหารหลวง ทางด้านทิศตะวันออก จุดที่ 4 ประวัติความเป็นมาและเรื่องราวต่าง ๆ ของพระพุทธรูปศิลาขาวทางด้านทิศใต้ จุดที่ 5 ประวัติ ความเป็นมาและเรื่องราวของพระพุทธรูปปางต่าง ๆ ที่อยู่ภายในวิหารพระนอนทางด้านทิศตะวันตก
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1129
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.