Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1124
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | Compakea, Jiraprapha | - |
dc.contributor.author | จิระประภา คำภาเกะ | - |
dc.date.accessioned | 2021-05-19T10:22:04Z | - |
dc.date.available | 2021-05-19T10:22:04Z | - |
dc.date.issued | 2020-07-09 | - |
dc.identifier.citation | คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช .2551 กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. | - |
dc.identifier.citation | จินตนา วงศามารถ. (2549). ผลการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์โดยใช้เกมมีผลต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการมัธยมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. | - |
dc.identifier.citation | ชรินทร์ สงสกุล. (2559). การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิคเพื่อนคู่คิด. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. | - |
dc.identifier.citation | ชลธิชา ทับทวี. (2554). ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคเพื่อนคู่คิดที่มีต่อความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผล เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชา การมัธยมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. | - |
dc.identifier.citation | ธีรพงษ์ ภูหงส์แก้ว. (2559). การศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดย การใช้เกมคณิตศาสตร์. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. | - |
dc.identifier.citation | ประพนธ์ เจียรกูล. (2535). ของเล่นและเกมในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์. เอกสารชุดฝึกอบรมหลักสูตรการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนคณิตศาสตร์ด้วยของเล่นเกม. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. | - |
dc.identifier.citation | รัชนี ภู่พัชรกุล. (2551). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ระหว่าง วิธีสอนแบบนิรนัยร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคเพื่อนคู่คิดและวิธีสอนแบบปกติ. วิทยานิพนธ์ปริญญา การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยทักษิณ. | - |
dc.identifier.citation | สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2562). ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET). ค้นเมื่อ 6 สิงหาคม 2562 จาก http://www.newonetresult.niets.or.th | - |
dc.identifier.citation | สรรเสริญ กลิ่นพูน. (2546). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง โจทย์ปัญหาเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างการใช้ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเองกับการใช้ชุดการเรียนด้วยตนเองร่วมกับการ เรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา บัณฑิต วิทยาลัย สถาบันราชภัฏนครราชสีมา. | - |
dc.identifier.citation | สายชล สิมสิน. (2559). การพัฒนาชุดกิจกรรมเกมคณิตศาสตร์ โดยวิธีการสอนแบบแก้ปัญหาร่วมกับการคิดแบบโยนิโส- มนสิการที่ส่งผลต่อความสุขในการเรียน ความคิดสร้างสรรค์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการวิจัยและพัฒนาการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ สกลนคร. | - |
dc.identifier.uri | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1124 | - |
dc.description.abstract | The research objectives were 1) to compare the students’ academic achievemen of Mathayomsuksa 2 students before and after being taught by using Think-Pair-Share with Mathematics Game on Prism and Cylinder 2) to compare Mathematics problem solving skill of Mathayomsuksa 2 students before and after taught by using Think-Pair-Share with Mathematics Game on Prism and Cylinder 3) to compare Mathematics problem solving skill of Mathayomsuksa 2 students after taught by using Think-Pair-Share with Mathematics Game on Prism and Cylinder at the 70 percent of criterion 4) to study the satisfaction of Mathayomsuksa 2 students towards using Think-Pair-Share with Mathematics Game on Prism and Cylinder. The target group of this research was 23 Mathayomsuksa 2 students who were studying in the second semester, 2019 academic year of Radbumrungtham school. The research instrument were the lesson plan, the achievement test, the Mathematics problem solving skill test and the satisfaction questionnaire. The collected data were analyzed by using the percentage, the arithmetic means, the standard deviation, and dependent t-test statistics. The results were as follows ; 1) The learning outcomes of students were higher than before learning with the statistical significant at the 0.5 level. 2) The mathematics problem solving skill of students were higher than before learning with the statistical significant at the 0.5 level. 3) Mathematics problem solving skill of students were higher than 70 percent of criterion. 4) The satisfaction of students towards using Think-Pair-Share with Mathematics Game on Prism and Cylinder were at high level. | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับ การจัดการเรียนรู้เรื่องปริซึมและทรงกระบอกโดยใช้เทคนิคเพื่อนคู่คิดร่วมกับเกมคณิตศาสตร์ 2) เปรียบเทียบทักษะ การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เรื่องปริซึมและทรงกระบอกโดยใช้ เทคนิคเพื่อนคู่คิดร่วมกับเกมคณิตศาสตร์ 3) เปรียบเทียบทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เรื่องปริซึมและทรงกระบอกโดยใช้เทคนิคเพื่อนคู่คิดร่วมกับเกมคณิตศาสตร์หลังเรียนเทียบกับ เกณฑ์ร้อยละ 70 และ 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้เรื่องปริซึมและ ทรงกระบอกโดยใช้เทคนิคเพื่อนคู่คิดร่วมกับเกมคณิตศาสตร์ กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนราษฎร์บำรุงธรรม จังหวัดกาญจนบุรี ปีการศึกษา 2562 จำนวน 23 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการ จัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบทดสอบวัดทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และแบบสอบถาม ความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 2) ทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 4) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ การจัดการเรียนรู้ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก | - |
dc.publisher | Nakhon Pathom Rajabhat University | en_US |
dc.subject | problem solving skill in mathematics | en_US |
dc.subject | think-pair-share | en_US |
dc.subject | mathematics game | en_US |
dc.subject | Prism and Cylinder | en_US |
dc.title | The Development of Problem Solving Skill in Mathematics on Prism and Cylinder Taught by Using Think-Pair-Share with Mathematics Game of Mathayomsuksa 2 Students. | en_US |
dc.title | การพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่องปริซึมและทรงกระบอก โดยใช้เทคนิคเพื่อนคู่คิดร่วมกับเกมคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 | - |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
การพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่องปริซึมและทรงกระบอก.pdf | 202.36 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.