Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1117
Title: Management Teamwork Perceived by Teachers of The school in Vibhavadi district under the secondary educational service area 2 Bangkok
การทำงานเป็นทีมของผู้บริหารตามการรับรู้ของครู ในสหวิทยาเขตวิภาวดี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 2
Authors: Atipremanond, Tichakorn
Tharasrisutti, Pavida
ทิซากรณ์ อติเปรมานนท์
ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ
Keywords: Teamwork
Teamwork Management
The School Administrators
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: ทองทิพภา วิริยะพันธุ์. (2551).การบริหารทีมงานและการแก้ไขปัญหา. กรุงเทพฯ : บริษัท ดวงกมลสมัย จำกัด.
ปนัดตา โพธิ์อ่อน. (2560). ความคิดเห็นของครูที่มีต่อบทบาทผู้บริหารในการ พัฒนาการทำงานเป็นทีมของครู โรงเรียนจิตรลดา. วารสารบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ปรีชา พึงเจียม. (2557 . พฤติกรรมการทำงานเป็นทีมของบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 3. การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัย ราชภัฏกาญจนบุรี
ผ่องอำไพ สระเพ็ชร. (2560). ศึกษาการบริหารการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนนวมินทราชินูทิศเตรียม อุดมศึกษาพัฒนาการ อำเภอบางบ่อจังหวัดสมุทรปราการ วารสารบริหารการศึกษา.มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ. (2558). ภาวะผู้นำและนวัตกรรมทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : บริษัทมิตรภาพการพิมพ์และสติวดิโอ.
ศรศวรรค์ สุขสนาน. (2560). การทำงานเป็นทีมตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต๋ 16. วารสารการ ประชุมวิซาการระดับชาติ "วลัยลักษณ์วิจัย" ครั้งที่ 10. 60 (1), 1-11.
สุภาวิณี วงษ์ชัยบุตร. (2560). การวิจัยเรื่องการทำงานเป็นทีมของครูโรงเรียนเอกชนในเครือมูลนิธิไทไซโย.วารสารการ ประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาครั้งที่ 2. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 60 (2), 868-876.
อริศษรา อุ่มสิ่น. (2560). การทำงานเป็นทีมของครูผู้สอนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี.
Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, pp. 607-610.
Abstract: The objective of this study ware to study and compare management teamwork perceived by teachers of the school in Vibhavadi district under the secondary educational service area 2 Bangkok. Group of teachers been divided by size of school and working experience. The samples consisted of 234 teachers of The school in Vibhavadi district under the secondary educational service area 2 Bangkok. Extrapolating from Krejcie & Morgan to define the sample size. The instruments used for data collection was 5 point-rating scale questionnaire. The data analysis was treated through frequency, percentage, Standard deviation as well as a t-test of One-way - ANOVA and a pairwise difference by means of Scheffe. Reseach findings ware as follows: 1) The management teamwork perception of teachers of the school in Vibhavadi district under the secondary educational service area 2 Bangkok. was at high level. 2) Different size of schools revealed no difference on perception. 3) Diferent year of teacher working experience were statistically significant difference at .05 level. On team objective and leadership, teacher with 10-15 years experience had perceived management teamwork higher teacher with less than10 years experience and on co-operation teacher with 10-15 years experience had perceived a higher level than teacher with less than 10 years and more than 16 years experience. On open communication and relationship revealed no difference.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารตามการรับรู้ของครู กลุ่มสหวิทยาเขตวิภาวดี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 และเปรียบเทียบการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารตามการรับรู้ของครู กลุ่มสห วิทยาเขตวิภาวดี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 จำแนกตามประสบการณ์ปฏิบัติงาน และตามขนาดของ สถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ข้าราชก รครูผู้สอนในสถานศึกษา ในสหวิทยาเขตวิภาวดี สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเทียบกลุ่มตัวอย่างของเครจซี่และมอร์ แกน (Krejcie and Morgan 1970 : 60 7-610 ) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 234 คน แล้วใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratifed Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) มาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าความถี่ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยค่าเปี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติการทดสอบค่าที (t-test) และการ ทดสอบความแปรปรวนทางเดีย (One-way ANOVA เมื่อพบคว ามแตกต่างจึงทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ Schefe ผลการวิจัยพบว่า 1) ครูมีความคิดเห็นต่อการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ของครูในสหวิทยาเขตวิภาวดี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 โดยภ าพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) ครูที่อยู่ในสถานศึกษาที่มีขนาด ต่างกันมีความคิดเห็นต่อการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารสถาศึกษาตามการรับรู้ของครูในสหวิทยาเขตวิภาวดี สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 โดยภ าพรวม และรายด้านไม่แตกต่างกัน 3) ครูมีประสบการณ์ในการทำงานต่างกันมีความ คิดเห็นต่อการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ของครูในสหวิทยาเขตวิภาวดี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 2 โดยภาพรวมและรายด้าน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ . 05 พบว่าด้านภาพรวม ด้านวัตถุประสงค์ของที่ม และด้านภาวะผู้นำ ครูที่มีประสบการณ์ในการทำงาน 10-15 ปีมีความคิดเห็นมากกว่า ครูที่มี ประสบการณ์ในการทำงาน น้อยกว่า 10 และด้านการมีส่วนร่วม พบว่าครูที่มีประสบการณ์ในการทำงาน 10-15 ปีมีความ คิดเห็นมากกว่า ครูที่มีประสบการณ์ในการทำงาน น้อยกว่า 10 ปี และ ครูที่มีประสบการณ์ในการทำงาน 16 ปี'ขึ้นไปปี ส่วน ในด้านการสื่อสารอย่างเบิดเผย ด้านการมีปฏิสัมพันธ์ ไม่มีความแตกต่าง
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1117
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.