Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1112
Title: The Condition to Use Information Technology for Management of Secondary School under the Secondary Educational Service Area Office 33
สภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนทศในการบริหารงานของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33
Authors: Niratpai, Poobess
Thauyngam, Kitiwat
Thassanathep, Winiranee
ภูเบศ นิราศภัย
กิติวัชร ถ้วยงาม
วินิรณี ทัศนะเทพ
Keywords: The Use of Information Technology
Administration
Management
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2559). แผนพัฒนดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. กรุงเทพฯ: กระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2562). ศูนย์กลางข้อมูลด้านการศึกษาสำหรับประชาชน กระทรวงศึกษาธิการ. สืบคันเมื่อ 7 กุมภาพันธ์ 2562 จาก https://edc.moe.go.th/information/.
ขวัญสิริ กะสินรัมย์.) 2560(. การบริหารงนเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560), แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2554). การจัดระบบบริหารและสารสนเทศภายในสถานศึกษา ตามกฎ กระทรวงว่าด้วยระบบ หลักกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 . กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33. (2561). แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2562. สืบคั้นเมื่อ 7 กุมภาพันธ์ 2562 จาก http://ww.secondary33.go.th/attachments/6827_ แผนรวมเล่ม920ปี 20%62ล่าสุด- 62.5.28pdf
ประสิทธิ์ สุวรรณรักษ์. (2555). ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 10. บุรีรัมย์: กลุ่มวิชา ทดสอบและวิจัยการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
ประดิษฐ์ จัดโสภา. (2558). แนวทางพัฒนาการใช้ทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
นพรัตน์ วงเวียนคู. (2558). สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวทางพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหาร สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษา มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
เอกชัย กี่สุขพันธ์ และคณะ. 2559 (การบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล School Management in Digital Era .( เข้าถึงได้จาก https//;:www.trueplookpanya.com/knowledge/content/52232. Rodriguez, C. (2007). ICT for Educational and Development (Electronic Version). Dissertation Abstracts Internsational. 9(4): 3-9.
Abstract: The purposes of this research were 1) to study the use of Information Technology in school Management of Secondary School the Secondary Educational Service Area Office 33. 2) to compare the use of Information Technology in school following the opinions of administrators and teachers classified by working experience. The sample in this research were 70 school administrators and 341 teachers and using proportional multi-stage random sampling. The instrument used to collect the data was questionnaire. reliability was 0.97. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, Independent t-test, and analysis of varience (ANOVA). The results that 1) the overall the state of using information technology in administration of secondary school administrators, according to the opinions of administrators and teachers were at high level. 2) Comparing the use of information technology of the secondary school administrators classified by work experiences were not statistically significant different. 3) Comparing the use information technology of the secondary school administrators classified and school size were statistically significant different level of .05.
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารงานของผู้บริหารโรงเรียน มัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 2) เปรียบเทียบสภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการ บริหารงานของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา ตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครู จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน และขนาด โรงเรียน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 70 คน ครู จำนวน 341 คน ได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการก็บรวบรมข้อมูลเป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเปี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐาน โดยการทดสอบค่า การวิเคราะห์ความ แปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารงานของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา ตาม ความคิดเห็นของผู้บริหารและครู โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) การเปรียบเทียสภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารโรงเรียน มัยมศึกษา ตามประสบการณ์นการทำงาน โดยรวมพบว่า ไม่แตกต่างกัน 3) การเปรียบเทียบสภาพการใช้เทคโนโล่ยีสารสนเทศของ ผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา ตามขนาดโรงเรียน โดยรวม พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1112
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.