Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1101
Title: | The Style of Singha in Sculpture of Dvaravati Period รูปแบบของ"สิงห์" ในงานประติมากรรมสมัยทวารวดี |
Authors: | Jindawattanaphum, Supitchar สุพิชฌาย์ จินดาวัฒนภูมิ |
Keywords: | Dvaravati art Singha sculpture |
Issue Date: | 9-Jul-2020 |
Publisher: | Nakhon Pathom Rajabhat University |
Citation: | กรมศีลปากร. (2531) ลวดลายตัวภาพในศลปะ. กรุงเทพฯ : กองพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ. นิทานชาดก. ค้นเมื่อ 9 พฤษภาคม 2536, จาก http://emuseum.treasury.go.th/article/538- rajasiha.html เพ็ญสุภา สุขคตะ. (2562). ปริศนาโบราณคดี "มนุษย์สิงห์" สฟิงซ์ของชาวมอญ-พม่า. มติชนสุดสัปดาห์, 1-7, พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง. (2560). สิงห์สำริด. ค้นเมื่อ 9 พฤษภาคม 2563 จาก http://www.suphan.biz/UtongMuseum.htm พิริยะ ไกรฤกษ์. (2533). ประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้ง. มหาอุกกุสชาดก. ค้นเมื่อ 15 ฤษภาคม 2536 จาก www.dhammathai.org/chadoknt28 .php อนุสาร อ.ส.ท. Tuesday, December 18, 2018. คั้นเมื่อ 9 พฤษภาคม 2563 จาก osotho.blogspot. com/2018/12/blog-post 18.html |
Abstract: | Singha was one of the animals that were an auspicious animals, popular in ancient art, the
same as sphinx in Civilization of Ancient Egypt, Singha in bas-relief of Assyria. Singha was an auspicious
animal symbol of China and East Asian countries. Singha was a symbol of protection and war leader.
The belief of Singha was widespread both in Europe and Asia. In Asia, it was assumed that the belief of
Singha came from India. Said that it was the belief in Brahminism that Singha was the vehicle of gods,
such as the Sun, the Goddess of ThuraKha and Ganesh. In Buddhism, Singha was considered a symbol of
the Shakyawong of the Buddha. There was also mentioned in the fable of the lord Buddha being
a Singha. As mentioned previously, Singha was one of the auspicious animals which became popular
Fine art in Thailand. Revealed evidences in Dvaravati period, besides of elephant, swan and naga,
Singha was one of the suspicious symbols which appeared in Dvaravati Fine art. The style of Davaravati Singha was distinctive characteristic, had the unique style to indicate the art in Dvaravati period.
Presuming that the symbol of Dvaravati Singha was the creature conjured by the faith and the beliefs in
Buddhism, represented in power and faith, and the protection of religious place. The creation of Singha
in Dvaravati period often appeared in sculpture, stucco and terracotta, both in round-relief and high relief. Popularly used to decorate in religious place in Dvaravati period, especially found in the Ancient
City of Nakhon Pathom, U-Thong Ancient Town, and Khu Bua Ancient Town of Ratcha buri สิงห์ เป็นหนึ่งในสัตว์ที่ป็นสัลักษณ์มงคล ที่นิยมสร้างในงานศิลปกรรมสมัยโบราณ เช่น รูปแบบของสฟิงซ์ ในอารยธรรมอิยิปต์โบราณ สิ่งห์ในภาพสลักนูนต่ำของอัสสิเรีย สิงห์เป็นสัตว์สัลักษณ์มงคลของจีน และประเทศแถบเอเชีย ตะวันออก สิงห์เป็นสัลักษณ์ของการพิทัษ์และผู้นำ ความเชื่อเกี่ยวกับสิงห์จึงเป็นความเชื่อที่แพร่หลายทั้งทางยุโรป และ เอเชีย ทางแถบเอเชียสันนิษฐานว่าได้รับความเชื่อที่เกี่ยวกับสิงห์มาจากอินเดีย เป็นความเชื่อทางศาสนาพราหมณ์ที่กล่าวว่า สิ่งห์เป็นพาหนะของเทพเจ้า เช่น พระอาทิตย์ พระแม่ทุรคา และพระคณศ ในทางพระพุทธศาสนากล่าวว่าสิงห์เป็นสัญลักษณ์ ของตระกูลศากยะวงศ์ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อีกทั้งมีการกล่าวถึงในนิทานซาดกในครั้งที่พระพุทธเจ้าเสวยพระชาติเป็น สิ่งห์ จากที่กล่าวมานี้ สิงห์จึงเป็นสัลักษณ์มงคลเป็นที่นิยมปรากฏในงานศิลปกรรมไทย ในสมัยทวารวดี สิงห์เป็นหนึ่งใน สัญลักษณ์มงคล ที่นอกเหนือจากช้าง หงส์ และนาค ที่ปรากฏในงานศิลปกรรมสมัยทวารวดี รูปแบบของสิงห์ทวารวดีมี ลักษณะที่โดดเด่นเฉพาะตัว มีเอกลักษณ์ที่บ่งบอกถึงความเป็นทวารวดี สิงห์ทวารวดีเป็นสัญลักษณ์ที่สร้างขึ้นเนื่องด้วยความ ศรัทธา และความเชื่อทางพระพุทธศาสนา เป็นตัวแทนที่แสดงถึงพลังอำนาจ และความศรัทธา การปกป้องศาสนสถาน การสร้างสิ่งห์ในสมัยทวารวดีปรากฏในงานศิลปะประติมากรรมปูนปั้น และดินเผา มีทั้งที่เป็นแบบลอยตัว และนูนสูง ใช้ประดับศาสนสถานสมัยทวารวดี โดยเฉพาะมีการค้นพบที่เมืองโบราณครปฐม เมืองโบราณอู่ทอง และเมืองโบราณคูบัว |
URI: | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1101 |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
รูปแบบของ“สิงห์” ในงานประติมากรรมสมัยทวารวดี.pdf | 790.5 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.