Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1090
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | Thongsukmak, Nattakan | - |
dc.contributor.author | Panyindee, Janjirapon | - |
dc.contributor.author | นัฐกานต์ ทองสุขมาก | - |
dc.contributor.author | จันจิราภรณ์ ปานยินดี | - |
dc.date.accessioned | 2021-05-18T07:59:27Z | - |
dc.date.available | 2021-05-18T07:59:27Z | - |
dc.date.issued | 2020-07-09 | - |
dc.identifier.citation | เขมจิรา บุตรธิยากลัด และพนิดา นิลอรุณ. (2560). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่มีผลต่อความผูกพันในองค์การของ พนักงาน. วารสารนวัตกรรมและการจัดการ, 2 (2), 67-78. | - |
dc.identifier.citation | เจนจิรา เจริญผล มัทณา แสงทอง จันจิราภรณ์ ปานยินดี และวรญา ทองอุ่น. (2562). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับความ พึงพอใจในการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงานบริษัทผลิตปลากระป๋องแห่งหนึ่งในจังหวัด นครปฐม. งานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 11 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, 647-655. | - |
dc.identifier.citation | กนกอร รัตนาพันธุ์ และสุธานันธ์ โพธิ์ชาธาร. (2560). การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่มีผลต่อความ ผูกพันต่อองค์การของข้าราชการกรมปศุสัตว์ที่ปฏิบัติงานในพื้นที่สำนักงานปศุสัตว์เขต 3. วารสาร มทร.อีสาน ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 4(2), 16-29. | - |
dc.identifier.citation | กรมโรงานอุตสาหกรรม. 2562. ข้อมูลโรงงานแยกตามพื้นที่. ค้นเมื่อธันวาคม 15, 2562, จาก http://www2.diw.go.th/factory/tumbol.asp. | - |
dc.identifier.citation | กิติพัฒน์ ดามาพงษ์. (2559). ความสุข ความพึงพอใจ ต่อความผูกพันของบุคลากรที่มีต่อสานักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.). การค้นคว้าอิสระรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารรัฐกิจและกิจการสาธารณะ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. | - |
dc.identifier.citation | จิราพร ระโหฐาน. (2559). ความพึงพอใจในการทำงาน ความผูกพันต่อองค์กร คุณภาพชีวิตและความสุขในการทำงาน กับ ผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์กรสุขภาวะเขตพื้นที่ภาคตะวันออก. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี, 24-34. | - |
dc.identifier.citation | จุฑามาศ สงวนทรัพย์ และกัญญานันท์ อนันต์มานะ. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างความสุขในการทางานกับความผูกพันต่อ องค์กรของพนักงาน: กรณีศึกษา บริษัทดอยคาผลิตภัณฑ์อาหาร จากัด สำนักงานใหญ่ (ราชเทวี). วารสาร นวัตกรรมและการจัดการ, 2 (2) 45-53. | - |
dc.identifier.citation | ชัญภร เสริมศรี. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารทรัพยากรมนุษย์กับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรบริษัท แห่งหนึ่ง ในเขตนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทั่วไป มหาวิทยาลัยบูรพา. | - |
dc.identifier.citation | ฐิติมา หลักทอง. (2557). ความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานบริษัท ผลิตชิ้นส่วนอุตสาหกรรมยานยนต์แห่งหนึ่งในนิคม อุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน มหาวิทยาลัยบูรพา. | - |
dc.identifier.citation | นำชัย ศุภฤกษ์ชัยสกุล. (2550). การศึกษาความสัมพันธ์โครงสร้างเส้นพหุระดับปัจจัยภาวะผู้นำ ปัจจัยกลุ่มสาระการ เรียนรู้ และปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อเครือข่ายการแลกเปลี่ยนทางสังคมในที่ทำงานและตัวแปรผลทางด้านจิต พิสัยของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้และครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์วิทยา ศาสตรดุษฎีบัณฑิต (การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. | - |
dc.identifier.citation | บุญชม ศรีสะอาด. (2558). การแปลผลเมื่อใช้เครื่องมือรวบรวมข้อมูลแบบมาตราส่วนประมาณค่า. ค้นเมื่อ ธันวาคม 1, 2562, จาก http://www.watpon.com/boonchom/trans.pdf | - |
dc.identifier.citation | ปิยาพร ห้องแซง. (2555). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่มีผลต่อความผูกพันในองค์กรของพนักงานสาขาธนาคารออมสิน ในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. | - |
dc.identifier.citation | พนิดา บุญธรรม. (2559). การจัดการทรัพยากรมนุษย์และความสมดุลชีวิตกับงานที่มีความสำคัญต่อความผูกพันใน องค์กร. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิชาเอกการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี. | - |
dc.identifier.citation | ศิริพงศ์ สมพีรพันธุ์. (2560). กระบวนการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน สหกรณ์ภาคการเกษตรในจังหวัดนครราชสีมา. บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน. | - |
dc.identifier.citation | ศุภชัย เหมือนโพธิ์ และคณะ. (2561). ความพึงพอใจและความผูกพันต่อองค์กรของพนักงาน. วารสารรังสิตบัณฑิตศึกษา ในกลุ่มธุรกิจและสังคมศาสตร์, 4 (2), 104-120. | - |
dc.identifier.citation | อาริญา เฮงทวีทรัพย์สิริ. (2558). ความผูกพันต่อองค์การ บุคลิกภาพห้าองค์ประกอบและความสุขในการทำงานของ พยาบาล โดยมีพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การเป็นตัวแปรสื่อ. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. | - |
dc.identifier.citation | Hair, J. F., et al. (2010). Multivariate data analysis. 7th ed. Upper Saddle River, NJ: Pearson Prentice Hall. | - |
dc.identifier.citation | Yamane, T. (1973). Statistics: An introductory analysis. 3 rd Ed. New York: Harper and Row Publisher. | - |
dc.identifier.uri | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1090 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research are to study 1) human resource management level, 2) organizational commitment level, and 3) human resource management affecting on organizational commitment of employees in a machinery manufacturing company in Ratchaburi province. The sample is 167 employees in a machinery manufacturing company in Ratchaburi province. The data is analyzed in term of frequency, percentage, mean, standard deviation and regression analysis. The results are showed as following; 1. Human resource management is at the highest level (Mean=4.39, S.D.=0.28). 2. Organizational commitment is at the highest level (Mean=4.36, S.D.=0.36). 3. Human resource management affects organizational commitment with statistical significance level of .01. (β =0.791). Human resource management can predict organizational commitment at the percentage of 62.5. | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับการจัดการทรัพยากรมนุษย์, 2) ระดับความผูกพันต่อองค์กร และ 3) การจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานบริษัทผลิตเครื่องจักรกลแห่งหนึ่งในจังหวัดราชบุรี กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานบริษัทผลิตเครื่องจักรกลแห่งหนึ่งในจังหวัดราชบุรี จำนวน 167 คน สถิติที่ใช้วิเคราะห์ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความถดถอย ผลการศึกษาพบว่า 1. ระดับการจัดการทรัพยากรมนุษย์อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย=4.39 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน=0.28) 2. ระดับความผูกพันต่อองค์กรอยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย=4.36 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน=0.36) 3. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์กรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (β =0.791) การจัดการทรัพยากรมนุษย์พยากรณ์ความผูกพันต่อองค์กรได้ร้อยละ 62.5 | - |
dc.publisher | Nakhon Pathom Rajabhat University | en_US |
dc.subject | Human Resource Management | en_US |
dc.subject | Organizational Commitment | en_US |
dc.subject | Training | en_US |
dc.title | Human Resource Management Affecting on Organizational Commitment of Employees in a Machinery Manufacturing Company in Ratchaburi Province | en_US |
dc.title | การจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์กร ของพนักงานบริษัทผลิตเครื่องจักรกลแห่งหนึ่งในจังหวัดราชบุรี | - |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์กร.pdf | 209.95 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.