Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1077
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | Niwes, Apichaya | - |
dc.contributor.author | Sansook, Jonatan | - |
dc.contributor.author | Laosakul, Wallpoporn | - |
dc.contributor.author | Chanprasert, Sutaphat | - |
dc.contributor.author | อภิชยา นิเวศน์ | - |
dc.contributor.author | จันทนา แสนสุข | - |
dc.contributor.author | วัลลภาภรณ์ เล้าสกุล | - |
dc.contributor.author | สุตาภัทร จันทร์ประเสริฐ | - |
dc.date.accessioned | 2021-05-18T04:22:20Z | - |
dc.date.available | 2021-05-18T04:22:20Z | - |
dc.date.issued | 2020-07-09 | - |
dc.identifier.citation | กรมการค้าภายใน. มูลค่าธุรกิจค้าปลีก,อัตราการขยายตัวของธุรกิจค้าปลีก 2559. [ออนไลน์] กระทรวงพาณิชย์.เข้าถึงได้ จาก http://www.siaminfobiz.com. | - |
dc.identifier.citation | กฤษณ์ ทัพจุฬา(2557)ได้วิจัยเรื่องความสำเร็จของธุรกิจร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมในเขตกรุงเทพมหานคร | - |
dc.identifier.citation | ฉันทัส เพียรธรรมและคณะ.(2552) บทความวิจัย เรื่องการปรับตัวของร้านโชห่วย ภายใต้กระแสการขยายตัวของร้านสะดวกซื้อสมัยใหม่ | - |
dc.identifier.citation | ชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์.(2546). การจัดการธุรกิจขนาดย่อม. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : หจก.น่ำกังการพิมพ์. | - |
dc.identifier.citation | ฐิติมา ไชยะกุล.(2548). หลักการจัดการการผลิตเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: เพียร์สัน เอ็ดยูเคชั่น อินโดไชน่า. | - |
dc.identifier.citation | ณัฐพล วิลารักษ์.(2553). ศึกษาเรื่อง มาตรการทางกฎหมายควบคุมอาคารและกฎหมายผัง . เมืองเพื่อ การจัดระเบียบในด้านโครงสร้างของธุรกิจค้าปลีกค้าส่ง | - |
dc.identifier.citation | ถิรวัสส์ ประเทืองไพศรี.(2549). ศึกษาเรื่อง พัฒนาการทางพื้นที่การเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่ และศักยภาพการขยายตัวของธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ | - |
dc.identifier.citation | ท็อปส์ ซุปเปอร์มาร์เก็ต.(2559).จำนวนสาขา ท็อปส์ เดลี่ ในเขตดอนเมือง. กรุงเทพฯ : [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.tops.co.th/en/index.html. | - |
dc.identifier.citation | เทสโก้โลตัส.(2559).จำนวนสาขา เทสโก้โลตัสเอ็กซ์เพลส ในเขตดอนเมือง. กรุงเทพฯ : [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.tescolotus.net/th/index.html. | - |
dc.identifier.citation | ธรีชัย ช้างปลิว. (2553) .ได้ทำการศึกษาเรื่อง ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีความสำคัญต่อการ ตัดสินใจซื้อสินค้าในร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ของประชาชนในเขตตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่[ระบบออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 8 กรกฎาคม 2559. จาก http//:www.businessacumen.co.th | - |
dc.identifier.citation | ธีรวุฒิ เอกะกุล.(2552). การวิจัยปฏิบัติการ. (พิมพ์ ครั้งที่2). กรุงเทพฯ : ยงสวัสดิ์อินเตอร์กรุ๊ป. | - |
dc.identifier.citation | นภาพร ณ เชียงใหม่.(2548).การบัญชีเพื่อการบริหาร. กรุงเทพฯ : บริษัทพัฒนาวิชาการ. | - |
dc.identifier.citation | เนตร์พัณณา ยาวิราช.(2546). การการจัดการสมัยใหม่. (พิมพ์ ครั้งที่2). กรุงเทพฯ : เซ็นทรัลเอ็กซ์ เพรส. | - |
dc.identifier.citation | ปฤษฎางค์ ปันกองงาม (2545) ได้ศึกษาเรื่องปัญหาและวิธีการปรับตัวเชิงกลยุทธ์ของผู้ประกอบการธุรกิจค้าปลีกแบบดั้งเดิม ในเขตเทศบาลนครลำปาง จังหวัดลำปาง | - |
dc.identifier.citation | พงศา นวมครุฑ. (2544) ได้ทำการศึกษาเรื่อง ปัจจัยด้านส่วนประสมทางการค้าปลีกของร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ในจังหวัด เชียงใหม่ | - |
dc.identifier.citation | พิบูลย์ ทีปะปาล.(2546). การจัดการเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ : อมรการพิมพ์ | - |
dc.identifier.citation | ภานุ ลิมมานนท์.(2550). กลยุทธ์การบริหารการค้าปลีก. กรุงเทพฯ : | - |
dc.identifier.citation | ภาณุ เชาว์ปรีชา.(2552). การจัดการสภาพคล่อง. [ระบบออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 8 กรกฎาคม 2560. จาก http//:www.businessacumen.co.th/2009/05/ | - |
dc.identifier.citation | ภาวิณี กาญจนาภา.(2554). การบริหารส่วนประสมการค้าปลีกและการจัดการเชิงกลยุทธ์ การตลาดของร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม. มหาวิทยาลัยศิลปกร. | - |
dc.identifier.citation | ไววิทย์ พรพัลลก.(2546). ศึกษาเรื่อง การดำเนินงานและปัญหาของค้าปลีกขนาดเล็กใน อำเภอเมือง:จังหวัดเชียงใหม่. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. | - |
dc.identifier.citation | สุจินดา เจียมศรีพงษ์.(2554). ศึกษาเรื่อง ธุรกิจค้าปลีกแบบดังเดิม (ร้านโชห่วย) : ปัญหาและ แนวทางแก้ไขเพื่ออนาคตการค้าปลีกที่ยั้งยืน. มหาวิทยาลัยนเรศวร. | - |
dc.identifier.citation | อภิชยา นิเวศน์.(2555). ศึกษาเรื่อง การศึกษาปัญหาและวิธีการปรับตัวเชิงกลยุทธ์ของผู้ประกอบการธุรกิจ ค้าปลีกแบบดั้งเดิม ในเขตสายไหม กรุงเทพมหานคร | - |
dc.identifier.citation | Kotler Philip; & Gary Armstrong. 2001. “Principles of Marketing”. 9th ed. New Jersey : Prentice- Hall, Inc. | - |
dc.identifier.citation | W.G. Cochran. 1953. “Sampling Techniques”. New York: Wiley | - |
dc.identifier.uri | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1077 | - |
dc.description.abstract | The research on the adaptation strategies to strengthen the competitive advantages of traditional retail business in Phra Nakhon Sri Ayutthaya municipal area has objectives to (1) study the problems and impacts of the implementation of modern retail businesses on traditional retail businesses and (2) study the strategic adjustment of traditional retail businesses in the Ayutthaya municipal area through qualitative research with in-depth interview from 12 traditional retail entrepreneurs namely Hua-raw, Hor-ratanachai, Tha Wasukri, Kramang, Klong Suanplu, Koh Riang, Huntr, Ban Koh, Bang Pra-in, Khan Ham and Bang Srang. From SWOT analysis, it was found that the strengths of the shops are in a good locations which are close to the community and consumers, entrepreneurs are self-management, operators focus on friendly service that can remember customers well even if no customer data records. The weaknesses of the traditional retail stores are limited retail space, no parking area, products and services are not diverse, entrepreneurs lack understanding in modern management, no good business opportunity, the popularity of customers towards the cheap product and the limitations from consumer attitudes that prefer to use modern retail stores. The problem of traditional retail store entrepreneurs In Phra Nakhon Si Ayutthaya municipal area is that the inability to implement a low price strategy, advertise and promote the business throughout the year, the lack of products diversity and comprehensive service center, small working capital, high operating costs, entrepreneurs lack understanding in modern management., the insufficient support from the government which resulted in the impact in lower sales and capital. The adaptation strategies to strengthen the competitive advantages of traditional retail business in Phra Nakhon Sri Ayutthaya municipal area found that the entrepreneurs can be divided into 3 large groups together. From the study of the interview method, it was found that: Group 1 needs to improve and develop their own retail stores to be more modern by customizing the shop, organizing the products into categories, placing products to be prominent and eye-catching, having the evident price tag and new product demonstrations, providing products that are pleasing to satisfy customers, procuring products that are always up-to-date with the concept of retaining old customers and adding new customers using strategy, focusing on good service ,building good relationships with customers, reducing inventory, controlling and reducing costs, providing good service groups, being friendly to customers and dividing some products into small units; Group 2 needs to expand their business from traditional retailers into a large wholesale store to strengthen trade and financial stability by implementing offensive strategies, emphasizing the expansion of investment for the growth of business to be a wholesale store that has regular customers as a traditional retailer and Group 3 had an idea that they will be in this condition indefinitely, without any improvement or change, they will wait for the day to close the stores by using defensive or withdraw strategy of financial control and reduce verbosity costs. | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่องกลยุทธ์การปรับตัวเพื่อสร้างความได้เปรียบการแข่งขันของผู้ประกอบการธุรกิจค้าปลีกแบบดั้งเดิมในเขต เทศบาลพระนครศรีอยุธยา มีวัตถุประสงค์(1)เพื่อศึกษาปัญหาและผลกระทบจากการดำเนินงานของธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ที่มี ต่อธุรกิจค้าปลีกแบบดั้งเดิม(2)เพื่อศึกษาการปรับตัวเชิงกลยุทธ์ของผู้ประกอบการธุรกิจค้าปลีกแบบดั้งเดิมในเขตเทศบาล พระนครศรีอยุธยา โดยการศึกษาวิจัยใช้วิธีแบบเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจาก ผู้ประกอบการธุรกิจค้าปลีกแบบดั้งเดิมจำนวน 12 ราย ได้แก่ หัวรอ หอรัตนไชย ประตูชัย ท่าวาสุกรี กะมัง คลองสวนพลู เกาะเรียน หันตรา บ้านเกาะ บางปะอิน คานหาม บ้านสร้าง จากการวิเคราะห์ SWOT พบว่าจุดแข็งของ ได้แก่ ร้านค้าอยู่ใน ทำเลที่ดีใกล้แหล่งชุมชนและผู้บริโภคผู้ประกอบการเป็นผู้บริหารงานด้วยตัวเองผู้ประกอบการเน้นการบริการที่เป็นกันเอง สามารถจดจำลูกค้าดี แม้ว่าจะไม่มีการบันทึกข้อมูลลูกค้าก็ตาม จุดอ่อน ของร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมมีบริเวณพื้นที่ร้านที่จำกัด คับแคบไม่กว้างขวาง ไม่มีบริเวณที่จอดรถ สินค้าและการบริการไม่มีความหลากหลาย ผู้ประกอบการขาดความเข้าใจในการ บริหารงานสมัยใหม่ โอกาสของธุรกิจ ความนิยมของลูกค้าที่มีต่อที่มีราคาถูก ข้อจำกัดจากทัศนคติของผู้บริโภคร้านค้าปลีก นิยมใช้บริการร้านค้าปลีกสมัยใหม่มากขึ้น ปัญหาของผู้ประกอบการร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม ในเทศบาลพระนครศรีอยุธยา คือ ไม่สามารถดำเนินกลยุทธ์ราคาต่ำ ไม่ทำการโฆษณาและการส่งเสริมการขายได้ต่อเนื่องตลอดปี สินค้าไม่มีความหลากหลาย และไม่มีศูนย์บริการที่ครบวงจร เงินทุนหมุนเวียนน้อย ต้นทุนการดำเนินงานสูง ผู้ประกอบการขาดความเข้าใจในการ บริหารงานสมัยใหม่ ความช่วยเหลือจากทางภาครัฐค่อนข้างช้า ซึ่งผลกระทบคือ ยอดขายลดลง และเงินทุนหมุนเวียน กลยุทธ์การปรับตัวเพื่อสร้างความได้เปรียบการแข่งขันของธุรกิจค้าป ลีกแบบดั้งเดิมในเขตเทศบาล พระนครศรีอยุธยา มีข้อค้นพบดังนี้ ผู้ประกอบการสามารถแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ ๆได้ 3 กลุ่มด้วยกัน จากการศึกษาวิธีการ สัมภาษณ์พบว่า กลุ่มที่ 1 ปรับเปลี่ยนพัฒนาร้านค้าปลีกของตนให้ดียิ่งขึ้น มีความทันสมัยขึ้นด้วยการปรับแต่งหน้าร้านจัด สินค้าให้เป็นหมวดหมู่ จัดวางสินค้าให้เป็นจุดเด่นและสะดุดตา มีป้ายบอกราคาอย่างชัดเจน มีการสาธิตสินค้าใหม่ ๆ จัดหา สินค้าที่ถูกใจสร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า จัดหาสินค้าที่ทันสมัยเสมอด้วยแนวความคิดรักษาลูกค้าเก่าเพิ่มและเสริมลูกค้าใหม่ ใช้กลยุทธ์ เน้นการบริการที่ดี สร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อลูกค้า ลดสินค้าคงคลัง ควบคุมและลดค่าใช้จ่ายและกลุ่มที่ บริการที่ดี เป็นกันเองใกล้ชิดกับลูกค้า สินค้าบางรายการสามารถแบ่งขายเป็นหน่วยเล็ก กลุ่มที่ 2 มีความต้องการขยายธุรกิจของตนเป็น ร้านส่งขนาดใหญ่เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงทางการค้าและการเงิน โดยดำเนินกลยุทธ์เชิงรุก เพื่อมุ่งความเป็นร้านค้าส่งที่มี ลูกค้าประจำ กลุ่มที่ 3 มีความคิดว่าอยู่ในสภาพอย่างนี้ไปเรื่อย ๆ ไม่คิดปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอะไร รอวันที่จะปิดตัวเองใช้กล ยุทธ์ตั้งรับหรือถอนตัว ใช้วิธีควบคุมทางการเงิน ลดค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟื่อยออกไป | - |
dc.publisher | Nakhon Pathom Rajabhat University | en_US |
dc.subject | Adaptation Strategies | en_US |
dc.subject | Traditional retail businesses | en_US |
dc.subject | competitive advantages | en_US |
dc.title | The Adaptation Strategies to Strengthen the Competitive Advantages of Traditional Retail Businesses in Phra Nakhon Sri Ayutthaya Municipal Area | en_US |
dc.title | กลยุทธ์การปรับตัวเพื่อสร้างความได้เปรียบการแข่งขันของธุรกิจค้าปลีก แบบดั้งเดิม ในเขตเทศบาลพระนครศรีอยุธยา | - |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
กลยุทธ์การปรับตัวเพื่อสร้างความได้เปรียบการแข่งขันของธุรกิจค้าปลีก.pdf | 242.69 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.