Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1075
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorPoonsawat, Pimpitcha-
dc.contributor.authorThongprong, Amnuay-
dc.contributor.authorพิมพ์พิชชา พูลสวัสดิ์-
dc.contributor.authorอำนวย ทองโปร่ง-
dc.date.accessioned2021-05-18T04:01:36Z-
dc.date.available2021-05-18T04:01:36Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationกนกรัตน์ ทำจะดี. (2560). การศึกษาการบริหารแบบมีส่วนร่วมในงานวิชาการของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษาและ ผู้นำทางการศึกษา มหาวิทยาลัยสยาม-
dc.identifier.citationกนกวรรณ บุราณสาร. (2560). แนวทางการบริหารแบบมีส่วนร่วมสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาอุดรธานี เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัย มหาสารคาม-
dc.identifier.citationกรรณิกา เพชรศรี. (2556). การบริหารแบบมีส่วนร่วมในโรงเรียนเอกชน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ประจวบคีรีขันธ์ เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ ธนบุรี-
dc.identifier.citationจันทรานี สงวนนาม. (2553). ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : บุ๊คพอยท์.-
dc.identifier.citationดาบชัย ข่วงทิพย์. (2555). การบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายการศึกษาที่ 16 อำเภอกุดบาก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1. สารนิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ-
dc.identifier.citationทำนอง ภูเกิดพิมพ์. (2551). แนวคิดการบริหารแบบมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของชุมชน. ค้นเมื่อ 12 มกราคม 2553 จาก http://www.gotoknow/org.-
dc.identifier.citationบุญธรรม ไวยมิตรา. (2553). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของผู้บริหารโรงเรียนตามการรับรู้ของครูกับ ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 และ เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.-
dc.identifier.citationพินิจนารถ ลำดวน) .2552). ความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษาตาม การรับรู้ของครูกับความพึงพอใจต่อการปฏิบัติงานของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.-
dc.identifier.citationเพ็ญพิศ ผาพองยุน. (2560). การบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาบึงกาฬ. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยสันตพล อุดรธานี-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1075-
dc.description.abstractThis research has the following objectives: study and compare the participative administration of school administrators in large primary schools as perceived by teachers, Nonthaburi Primary Educational Service Area Office 1 by educational levels and teaching experience, a total of 277 people by using the table to determine the size of the sample of Cohen & others, a total of 168 people. The instrument used in this research was a questionnaire with a reliability of .972. The statistics used in The research was frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and one-way ANOVA. The results showed that 1) The participative administration of school administrators in large primary schools as perceived by teachers, Nonthaburi Primary Educational Service Area Office 1 as a whole and as individual aspects at the high level. 2) Teachers with different educational levels and teaching experience. There was no difference in the participative administration of school administrators in large primary schools as perceived by teachers, Nonthaburi Primary Educational Service Area Office 1 as a whole and as individual aspects.en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษาใน โรงเรียนประถมศึกษาขนาดใหญ่ตามการรับรู้ของครู สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 จำแนกตาม ระดับการศึกษา และประสบการณ์การสอน ประชากร 277 คน โดยใช้ตารางกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างของโคเฮนและ คณะจำนวน 168 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่น .972 สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One –way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดใหญ่ตามการ รับรู้ของครู สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) ครูที่มี ระดับการศึกษา และประสบการณ์การสอนต่างกัน มีการรับรู้ต่อการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียน ประถมศึกษาขนาดใหญ่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectTeacher Participative Participative Administration Large Primary Schoolsen_US
dc.titleThe Participative Administration of School Administrators in Large Primary Schools as Perceived by Teachers, Nonthaburi Primary Educational Service Area Office 1en_US
dc.titleการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดใหญ่ตาม การรับรู้ของครู สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.