Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1055
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorYuennarn, Monthakarn-
dc.contributor.authorSuwanjinda, Duongdearn-
dc.contributor.authorThammaprateep, Jurarat-
dc.contributor.authorมณฑกานต์ ยืนนาน-
dc.contributor.authorดวงเดือน สุวรรณจินดา-
dc.contributor.authorจุฬารัตน์ ธรรมประทีป-
dc.date.accessioned2021-05-17T14:48:18Z-
dc.date.available2021-05-17T14:48:18Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationกระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.-
dc.identifier.citationจรินทร จันทร์เพ็ง. (2556). การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.-
dc.identifier.citationทิศนา แขมมณี.(2559). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 20) กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.-
dc.identifier.citationพรรัตน์ กิ่งมะ.. (2552). การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืชโดยใช้การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านตำหรุ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วิทยานิพนธ์ปริญญา ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.-
dc.identifier.citationวาชินี บุญญพาพงศ์. (2552). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง พืชและสัตว์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จากการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.-
dc.identifier.citationสมจิตร ผอมเช่ง. (2556). ผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น ร่วมกับการใช้เทคนิคผังกราฟิกที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา-
dc.identifier.citationสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สำนักบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. Ray, A.M. and Beardsley, P.M., (2008). Overcoming Student Misconception about Photosynthesis: A Model and Inquiry - Based Approach Using Aquatic Plants, Science Activities, 45 (1), 13 - 22.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1055-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to 1) compare science learning achievement of Mathayom Suksa V students, who learned under the inquiry method (5E) with graphic organizing technique, with that of the students who learned under the traditional teaching method; and 2) compare integrated science process skills of Mathayom Suksa V students, who learned under the inquiry method (5E) with graphic organizing technique with that of the students who learned under the traditional teaching method. The research sample consisted of 32 Mathayom Suksa V students in two intact heterogeneous classrooms, 16 students per classroom of Mueang Phochai Pitthayakhom School in Buri Ram province, obtained by the cluster random sampling. One classroom was randomly assigned as the experimental group to learn under the inquiry method (5E) with graphic organizing technique; while the other classroom, the control group to learn under the traditional teaching method. The employed research instruments included 1) learning management plans for the inquiry method (5E) with graphic organizing technique; 2) learning management plans for the traditional teaching method; 3) a science learning achievement test; and 4) an assessment scale for integrated science process skills. Statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that 1) the science learning achievement in the topic of homeostasis of the students who learned under the inquiry method (5E) with graphic organizing technique was significantly higher than that of the students who learned under the traditional teaching method at the .01 level of statistical significance; and 2) the integrated science process skills of the students who learned under the inquiry method (5E) with graphic organizing technique was significantly higher than those of the students who learned under the traditional teaching method at the .01 level of statistical significance.en_US
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเที่ยบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 5 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่มกับเทคนิคผังกราฟิกกับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ และ 2) เปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยการจัดการ เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับเทคนิคผังกราฟิกกับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็น นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 2 ห้องเรียน ห้องเรียนละ 16 คน รวมทั้งหมด 32 คน ที่จัดนักเรียนแบบคละ ความสามารถ ของโรงเรียนเมืองโพธิ์ชัยพิทยาคม จังหวัดบุรีรัมย์ ได้มาโดยการลุ่มแบบกลุ่ม แล้วจับสลากให้ห้องหนึ่งเป็นกลุ่ม ทดลองที่ใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับเทคนิคผังกราฟิก และอีกห้องหนึ่งเป็นกลุ่มควบคุมที่ใช้ วิธีการจัดการเรียนรู้แบบปกติ เครื่องมือวิจัย ได้แก่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับเทคนิคผัง กราฟิก 2) แผ่นการจัดการเรียนรู้แบบปกติ 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทงการเรียนวิทยาศาสตร์ และ 4) แบบวัดทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ ทดสอบค่าที่ ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับเทคนิคผังกราฟิก มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร้างกาย สูงกว่าของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ . 0 1 และ 2) นักเรีนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับเทคนิค ผังกราฟิก มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการสูงกว่าของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectLearning achievementen_US
dc.subjectIntegrated science process skillsen_US
dc.subjectGraphic organizing techniqueen_US
dc.subjectInquiry methoden_US
dc.titleThe Effects of Learning Management Using Inquiry Method (5E) with Graphic Organizing Technique on Learning Achievement in the Topic of Homeostasis and Integrated Science Process Skills of Mathayom Suksa Ven_US
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับเทคนิคผังกราฟิก เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จังหวัดบุรีรัมย์-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.