Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1039
Title: | The process of operations, problems, and patterns of creating a network for the Anti-corruption Commission of the Office of Public Sector Anti-corruption กระบวนการปฏิบัติงาน ปัญหาอุปสรรค และรูปแบบการสร้างเครือข่ายที่เหมาะสมกับการ ป้องกันการทุจริตในภาครัฐของสำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ เขต 7 |
Authors: | Jansomboon, Manoon มนูญ จันทร์สมบูรณ์ |
Keywords: | Operation Problem Network construction Public Sector Anti-corruption Commission sector 7 |
Issue Date: | 9-Jul-2020 |
Publisher: | Nakhon Pathom Rajabhat University |
Citation: | กฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ
พ.ศ. 2560 (2560). ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 134, ตอนที่ 109 ก. (ลงวันที่ 16 ตุลาคม 2560).
กลุ่มงานบริหารบุคคล สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ประเภทวิชาการระดับ
ปฏิบัติการ ระดับชำนาญการ และระดับชำนาญการพิเศษ. ค้นวันที่ 9 มีนาคม 2562
จาก http://www.mua.go.th/users/personal/source/study/Uriwan/ 117.html) กลุ่มงานป้องกันการทุจริตในภาครัฐ. โครงสร้างการบริหารงานสำนักงานป้องกันและปราบปราม การทุจริตในภาครัฐเขต 7. กลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานจังหวัดนครนายก. เครือข่าย 4 ภาคส่วนใน สังคมไทย. (เอกสารอัดสำเนา). เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2543). การจัดการเครือข่าย : กลยุทธ์สำคัญสู่ความสำเร็จของการปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ซัคเซสมีเดีย. คมสัน รัตนะสิมากูล. (2559). การศึกษาเรื่องเครือข่ายการสื่อสารกับการประกอบสร้างความหมายการพัฒนาแบบยั่งยืน ของชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงดอกบัว จังหวัดพะเยา. ค้นวันที่ 8 สิงหาคม 2562 จาก http://www.file:///C:/User/ Downloads/133140-Article%20Text-351478-1-10-20180706.pdf จันทิรา มังกรศักดิ์สิทธิ์. (2556). ความคิดเห็นของพนักงานต่อการสื่อสารภายในองค์กร กรณีศึกษาโรงพยาบาลนนทเวช. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. ดนัย เทียนพุฒ. (2546). Core Human Competencies : ความสามารถ ปัจจัยชัยชนะของ ธุรกิจและคน. กรุงเทพฯ : นาโกด้าจำกัด. เทวิล ศรีสองเมือง. (2552) การพัฒนารูปแบบเครือข่ายการจัดการเรียนการสอนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารวิจัย มข. ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน 2552) . นฤมล นิราทร. (2543). การสร้างเครือข่ายการทำงาน : ข้อควรพิจารณาบางประการ.กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ประกาศกระทรวงยุติธรรม. กำหนดเขตพื้นที่ของสำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ เขตพื้นที่1-9. 28 มีนาคม 2555. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 129, ตอนพิเศษ 57 ง. พระดาวเหนือ บุตรสีทา. (2557). การสร้างเครือข่ายและการจัดการเครือข่ายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของชุมชน บ้านพบธรรมนำสุข อำเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารการพัฒนาสังคม) คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. พระมหาสุทิตย์ อาภากโร. (2547). เครือข่าย ธรรมชาติ ความรู้ และการจัดการ. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเสริมสร้างการ เรียนรู้เพื่อชุมชนเป็นสุข (สรส.). ไพรัช ตระการศิรินนท์. (2548). การคลังภาครัฐ. พิมพ์ครั้งที่ 2. เชียงใหม่: คนึงนิจการพิมพ์. ภัทรวรรธน์ นิลแก้วบวรวิชญ์. (2559). รูปแบบการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 27 ฉบับที่ 3 (2559) . รุ่งโรจน์ เพชระบูรณิน. (2546). เครือข่ายภาคประชาชนในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาการทุจริตคอร์รัปชัน : กรณีศึกษา เครือข่ายประชาชนต้านคอร์รัปชัน(คปต.). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ลูเทอร์ กูลิค (Luther Gulick),แนวคิดและทฤษฎีการจัดการ,สืบค้น 14 พฤษภาคม 2562 ,จาก http://adisony.blogspot.com/ ?view=snapshot. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2562). การทุจริตทางการเมือง ค้นวันที่ 8 สิงหาคม 2562. จาก https://www.th.wikipedia.org/wiki/การทุจริตทางการเมือง. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ. ค้นวันที่ 6 เมษายน 2562. จาก https://www.th.wikipedia.org/wiki/สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ. วิเชียร วิทยอุดม. (2551). แนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ และทฤษฎีระบบราชการ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: ธีระฟิล์ม และไซเท็กซ์. ศิริรัตน์ แสงชีวงษ์. (2554). แนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมของผู้บริหารโรงเรียนในเขตพื้นที่ การศึกษาปทุมธานี เขต 2. ภาควิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สมิต สัชฌุกร. (2553). ทักษะการประสานงาน. ค้นวันที่ 8 สิงหาคม 2562. จาก http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?bookID=394&read=true&count=true. สนธยา พลศรี. (2550). เครือข่ายการเรียนรู้ในงานพัฒนาชุมชน. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์ . เสรี พงศ์พิศ. (2548). เครือข่าย:ยุทธวิธีเพื่อประชาชนเข้มข้น ชุมชนเข้มแข็ง. กรุงเทพมหานคร : สถาบันส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ. (2561). เกี่ยวกับสำนักงาน ป.ป.ท. โครงสร้างสำนักงาน. ค้นวันที่ 6 เมษายน 2562 จาก http://www.pacc.go.th/index.php/home/about/21. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ. (2561). เกี่ยวกับสำนักงาน ป.ป.ท. ประวัติความเป็นมา. ค้นวันที่ 6 เมษายน 2562 จาก http://www.pacc.go.th/index.php/home/about/12. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ. (2561). เกี่ยวกับสำนักงาน ป.ป.ท. ยุทธศาสตร์วิสัยทัศน์. ค้นวันที่ 6 เมษายน 2562 จาก http://www.pacc.go.th/index.php/home/about/15. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ. (2561). แผนปฏิบัติการระยะ 5 ปี พ.ศ.2561-2565. สำนักงาน ป.ป.ท., กองยุทธศาสตร์และแผนงาน. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ. (2558). หลักสูตรคู่มือและแนวทางการสร้างเครือข่ายภาครัฐต่อต้านการทุจริต. ค้นวันที่ 30 มีนาคม 2562, จาก http://www.km.moi.go.th/km/goodgov/manual/manual2.pdf) สำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ เขต 1. (2560). คู่มือการปฏิบัติงานสำนักงาน ป.ป.ท.เขต 1. ค้นวันที่ 10 พฤษภาคม 2562 จาก http://www.pacc.go.th/upload/userfiles/ita_area1.pdf สำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ เขต 7. (2560). โครงสร้างการบังคับบัญชา สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ. (เอกสารอัดสำเนา). สำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ เขต 7. (2560). วิเคราะห์สภาพแวดล้อมใน แผนปฏิบัติราชการของสำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ เขต 7. อัลเบิร์ต ฮัมฟรี (Albert Humphre).ทฤษฎีองค์การและการจัดการเชิงกลยุทธ์ชั้นสูง, สืบค้น 14 พฤษภาคม 2562 จาก http://promrucsa-dba04.blogspot.com/2012/10/swot-analysis-swot-swot-humphrey-swot-2.html. อิศยา พัฒนภักดี. (2557). ปัจจัยและกระบวนการบริหารจัดการที่มีอิทธิพลต่อระดับความสำเร็จในการประกอบธุรกิจ โรงแรมบูติกในเขตกรุงเทพมหานคร. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม การบริการ และ การท่องเที่ยว. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. สัมภาษณ์ นักวิชาการยุติธรรม สำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ เขต 7 ,4 เมษายน 2562,สัมภาษณ์. |
Abstract: | This objectives of this qualitative research to study : 1) the operation of network of Anticorruption
in the public sector. 2) the problem to the operation of network for Anti-corruption in the
public sector; and 3) to study the pattern of network for the prevention of corruption in the public
sector. The samples group in this research was selected using the purposive sampling were 6 importance
person for network working under the Anti-corruption Commission of the Office of Public Sector Anticorruption
Commission sector 7. The instruments used of this research were interview ,constructed by
the researcher. The data used descriptive analysis with frequency and percentage.
The research found that:
1. The operation of network of Anti-corruption in the public sector. It was concluded that
1.1 The network construction of Anti-corruption in the public sector, there were two ways
to create a network of Anti-corruption in the public sector and the development of network of Anticorruption
in the former government.
1.2 A policy statement from the Office of Public Sector Anti-corruption Commission to all
of the 9 sectors.1.3 There were 2 types of coordination in Anti-corruption networks in the public sector:
formal co-ordination and non-formal co-ordination.
2. The problem to the operation of a network for Anti-corruption in the public sector. It was
concluded that:
2.1 Information about corruption, that was received by people, who were not sufficient to
make the plan did not cover all the issues.
2.2 Network for Anti-corruption in the public sector were not covered in all provinces.
2.3 The number of staff is inadequate to the task of building a network of Anti-corruption in
the public sector in all provinces.
2.4 The command is a top-down command, causing a lack of freedom of operation.
2.5 Network Anti-corruption in the public sector, lack of coordination, effective as hoped.
2.6 Reporting performance results is not exhaustive. Detailed enough.
2.7 The budget that has been allocated is not enough for some area of the work that may
have more workloads than an area with fewer workloads.
3. The network model for the prevention of corruption in the public sector.
The study found that :
3.1 The network model of Anti-corruption in the public sector with the most level of
proposals is All-channel Network.
3.2 The network model of Anti-corruption in the public sector with the much level of
proposals is Wheel Network. การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากระบวนการปฏิบัติงานด้านการสร้างเครือข่าย การป้องกันการทุจริตในภาครัฐ 2) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรคในการปฏิบัติงานด้านการสร้างเครือข่ายการป้องกันการทุจริตใน ภาครัฐและ 3) เพื่อศึกษารูปแบบการสร้างเครือข่ายที่เหมาะสมกับการปฏิบัติงานด้านการป้องกันการทุจริตในภาครัฐ กลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้มาโดยการกำหนดกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ซึ่งเป็นบุคคลสำคัญ ซึ่ง เป็นหัวหน้าและเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานเครือข่าย สำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ เขต 7 จำนวน 6 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นจากแนวคิด ทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และใช้การ พรรณนาวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าความถี่ และค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1. กระบวนการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการสร้างเครือข่ายการป้องกันการทุจริตในภาครัฐ ที่สำคัญประกอบด้วย 1.1 การสร้างเครือข่ายการป้องกันการทุจริตในภาครัฐมี 2 รูปแบบ คือ การสร้างเครือข่ายการป้องกันการทุจริตใน ภาครัฐใหม่และการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการป้องกันการทุจริตในภาครัฐเก่า 1.4 มีการสั่งการนโยบายจากทางสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐไปยังเขต พื้นที่ทั้ง 9 เขตพื้นที่ 1.5 การประสานงานเครือข่ายการป้องกันทุจริตในภาครัฐมี 2 ลักษณะ คือ การประสานงานแบบเป็นทางการ และการประสานงานแบบไม่เป็นทางการ 2. ปัญหาอุปสรรคเกี่ยวกับการสร้างเครือข่ายการป้องกันการทุจริตในภาครัฐ ประกอบด้วย 2.1 ข้อมูลข่าวสารเรื่องการทุจริตภาครัฐที่ได้รับจากประชาชนยังไม่เพียงพอทำให้การวางแผนยังไม่ครอบคลุม การแก้ไขปัญหาทั้งหมด 2.2 เครือข่ายการป้องกันการทุจริตในภาครัฐยังไม่ครอบคลุมในทุกจังหวัด 2.3 จำนวนบุคลากรยังไม่เพียงพอต่อภารกิจการสร้างเครือข่ายการป้องกันการทุจริตในภาครัฐทุกจังหวัด 2.4 การสั่งการเป็นการสั่งการแบบบนลงล่างทำให้ขาดอิสระในการปฏิบัติงาน 2.5 เครือข่ายการป้องกันการทุจริตในภาครัฐขาดการประสานงานที่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร 2.6 การรายงานผลการปฏิบัติงานนั้นยังไม่ครบถ้วน ละเอียดเท่าที่ควร2.7 งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรนั้นบางเขตพื้นที่ยังไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงานที่อาจจะมีภารกิจ ภาระงาน มากกว่าเขตพื้นที่ที่มีภารกิจ ภาระงานน้อย 3. รูปแบบการสร้างเครือข่ายการป้องกันการทุจริตในภาครัฐที่เหมาะสม รูปแบบการสร้างเครือข่ายการป้องกันการทุจริตในภาครัฐที่เหมาะสมกับสำนักงานป้องกันและปราบปรามการ ทุจริตในภาครัฐ เขต 7 จากผลการศึกษาพบว่า 3.1 รูปแบบการสร้างเครือข่ายการป้องกันการทุจริตในภาครัฐที่เหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด คือ รูปแบบทุก ช่องทาง 3.2 รูปแบบการสร้างเครือข่ายการป้องกันการทุจริตในภาครัฐที่เหมาะสมอยู่ในระดับมาก คือ รูปแบบวงล้อ |
URI: | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1039 |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
กระบวนการปฏิบัติงาน ปัญหาอุปสรรค.pdf | 305.33 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.