Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1037
Title: Teachers' Opinions Towards the Academic Administration of School Administrators in School Network 22"d Under Bangkapi District Office, Bangkok Metropolis
ความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา เครือข่ายโรงเรียนที่ 22 สังกัดสำนักงานเขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร
Authors: Seesad, Siprapa
Tharasrisutti, Pavida
ศิประภา สีแสด
ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ
Keywords: The Academic Administration The Educational Administration The School Administrators
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: ชัยภูมิ ใหหลั่ง. (๒๕๖๐). ความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงานวิชาการโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตบางกะปี กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วชิราภรณ์ พูนสยามพงษ์. (๒๕๖๐). ความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงานวิซาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด สำนักงานเขตสาทร กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วรรณภัส พิทักษ์ชานิธิกุล. (๒๕๖๐). ความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขนาด ใหญ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการ- บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สำนักงานยุทธศาสตร์การศึกษา สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร. (๒๕๕๙). แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร ฉบับที่ ๒ พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๓. ครั้งที่ ๑. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด. กรุงเทพมหานคร
อมรรัตน์ ชมัมพงษ์. (๒๕๖๐). ความคิดเห็นของครูต่อการบริหารงานด้านวิซาการโรงเรียนบางพลีราษฎร์บำรุง สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๖. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
อรุณศรี เทวโรทร. (๒๕๑๑). ความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงานวิซาการของผู้บริหารโรงเรียนขยายโอกาสทาง การศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๒. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง
อัมภาพร ราชนิแพน. (๒๕๖๐). การบริหารงานวิซาการของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูในสำนักงานเขต ห้วยขวาง สังกัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง
Cohen, L., Minion, L., & Morrison, K (๒oa๑). Research methods in education (oth ed.). New York: Routledge.
Abstract: The purpose of this researcher were to studies teachers' opinions towards the academic administration of school administrators in school network 22nd under Bangkapi District Office, Bangkok and compares teachers' opinions towards the academic administration of school administrators in school network 22nd under Bangkapi District Office, Bangkok. Extrapolating from the Cohen Manion and Morrison Table so as to determine appropriate sample size, the researcher selected a sample population consisting of 151 teachers from school network 22'd under Bangkapi District Office, Bangkok, then employing the stratified random sampling method. The research Instrument was a five-rating scale questionnaire, the questionnaire was tested for content validity by the index of congruence (IOC), it was between 0.80-1.00 and Cronbach's alpha coefficient was at 0.977. Using techniques of descriptive statistics, the researcher analyzed the data collected in terms of frequency, percentage, mean, and standard deviation. A t test technique and the one-way analysis of variance (ANOVA technique were also employed by the researcher. Research findings were as follows: 1) The teachers were of the opinion toward academic administration of school administrators in overall and each aspect were at a highest level. 2) The teachers who differed in educational level in their opinions toward academic administration of school administrators in overall and all aspects evince did not dijfferences. The teachers who differed in work experience in their opinions toward academic administration of school administrators in overall and each aspects evince did not differences.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูที่มีต่อก ารบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา เครือข่ายโรงเรียนที่ 22 สังกัดสำนักงานเขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร และเพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูที่มีต่อก าร บริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา เครือข่ายโรงเรียนที่ 22 สังกัดสำนักงานเขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร โดย จำแนกตามวุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูที่ปฏิบัติก ารสอนในเครือข่าย โรงเรียนที่ 22 สังกัดสำนักงานเขตบางกะปี กรุงเทพมหานคร จำนวน 151 คน โดยการกำหนดกลุ่มตัวอย่างที่ระดับนัยสำคัญ ทางสถิติ .05 จากการเปิดตารางของโคเฮน และมอริสัน Cohen, Manion, and Morrison (2011, p. 147) และเมื่อได้ขนาด กลุ่มตัวอย่างแล้วใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) มาตราส่วน ประเมินค่า 5 ระดับ ที่มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ตั้งแต่ 80 - 1.00 และค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถาม ทั้งฉบับเท่ากับ 977 สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเปี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติก ารทดสอบค่าที ( - test) และการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA ผลการวิจัยพบว่า 1) ครูมีความคิดเห็นต่อการ บริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถนศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด 2) ครูที่มีวุฒิการศึกษาต่างกันมี ความคิดเห็นต่อการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาโดยภ าพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน ส่วนครูที่มี ประสบการณ์ในการทำงานต่างกันมีความคิดเห็นต่อการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภ าพรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1037
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6654.pdf236.29 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.