Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1036
Title: | Lam Pao Thanarak Prachatarat Model ลำปาวธนารักษ์ประชารัฐโมเดล |
Authors: | Chaisri, Pramit ประมิตร ไชยศรี |
Keywords: | public policy civil state model manufacturing company |
Issue Date: | 9-Jul-2020 |
Publisher: | Nakhon Pathom Rajabhat University |
Citation: | จงรัก บุญทันเสน และอลงกรณ์ อรรคแสง. (2556). การดำเนินโครงการรัฐเอื้อราษฎร์ของสำนักงานธนารักษ์พื้นที่กาฬสินธุ์
วารสารการเมืองการปกครอง, 56 (2), 99-117. ขวัญกมล ตอนขาว. (2557). รายงานกรวิจัยเรื่อง แบบจำลองปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเศรษฐกิจสร้างสรรค์มี ผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. นิสรา ใจสื่อ. (2557). รายงานการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสำเร็จในการเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. อรวรรณ แก้วมาตย์ และคณะ. (2558). การดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษา ภาคปกติ (คฤหัสถ์). ปริญญารัฐศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง มหาวิทยาลัยมหามงกุฎราชวิทยาลัย. สมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน. (2559) รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการบริษัทผู้ผลิต (Producer Compana) พื้นที่เขื่อนลำปาว จังหวัดกาฬสินธุ์และจังหวัดอุดรธานี. กรุงเทพฯ: กระทรวงการคลัง เจนจิรา เดชรัฐ. (2559). การนำนโยบายบริหารจัดการแรงงานต่งด้าวไปปฏิบัติ. ปริญญารัฐประศาสนศาตร์มหาบัณฑิต วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์. อนุวัฒน์ สุวรรณมาต.. (2559). รูปแบบการบริหารงานวัดและประเมินผลในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงาน เขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา. ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. ดชา บัวเทศ. (2560). รายงานการวิจัยเรื่อง นโบายสาธารณะ: : การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพพระสงฆ์แบบองค์ รวมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี.สระบุรี: สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 2 จังหวัดสระบุรีกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข. ปียากร หวังมหาพร. (2560). ประชารัฐจากรายการคืนความสุขให้คนในชาติคืออะไร?.วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal), 60 (2), 1-24. สมพงษ์ เกศานุช และคณะ. (2560).การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ : ทิศทางการกำหนดกระบวนทัศน์ในการบริหาร จัดการ.ธรรมทรรศน์, 60 (2), 173-184. ประวิช สุชุม. (2560). รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษาแนวทางการเพิ่มประสิทธิผลของโครงการสานพลังประชารัฐ เพื่อ การพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร. ชัยวิชิต เชียรชนะ. (2560) การสร้างและการพัฒนโมเตล/รูปแบบ/แบบจำลอง/ตัวแบบ. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 60(1).1-11. ว่าที่ร้อยเอก โอภาส มีเขาว์. (2561). ประสิทธิผลการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ เพื่อการชำระหนี้เงินกู้ยืมของกองทุน เงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา. ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยสยาม. จุฑามาศ พนันสวรรค์. (2562). การพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาในการบริหารจัดการศูนย์ พัฒนาเด็กล็กเทศบาลนครเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. |
Abstract: | This article aims to present concepts. "Lam Pao Thanarak Pracharath Model" by taking the leasehold
rights of state property in the Lam Pao Dam as according to the Treasury Department of the Treasury Project
Which is considered a public policy for the management of national assets To reduce social inequality and
improve the quality of life for people By certifying the right to use the state property To live and eat There is
coordination of civil power which consists of government, private and public sectors. Established as a company
Comprehensive agricultural producer The duties of each sector are defined as follows: The government
provides infrastructure, public utilities and facilities. The public sector has invested in leasehold rights for state
property to be invested in shares and are employees in the manufacturing company. The private sector is
chosen to be an agricultural producer company. By bidding method under the conditions specified by the
Ministry of Finance In order to create an agricultural project under the philosophy of sufficiency economy And
manage to maximize efficiency The profits allotted to the public are based on the value of the shares in the
manufacturing company. As a result, the foundations economy can be self-sustained. บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวคิด "ลำปาวธนารักษ์ประชารัฐโมเดล" โดยการนำสิทธิการเช่าที่ดินราชฟัสดุ บริเวณเขื่อนลำปาวตามโครงการธนารักษ์ประชารัฐของกรมธนารักษ์ ซึ่งถือเป็นนโยบายสาธารณะในการบริหารทรัพย์สินชอง ประเทศ เพื่อลดความเหลื่อมล้ำของสังคมและเพิ่มคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยรับรองสิทธิการเข้าใช้ประโยชน์ในที่ดินราชพัสดุ เพื่ออยู่อาศัยและทำกิน มีการประสานพลังประชารัฐซึ่งประกอบด้วย ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน จัดตั้งเป็น บริษัทผู้ผลิตด้านการเกษตรครบวงจร มีการกำหนดหน้าที่ของแต่ละภาคส่วน ดังนี้ ภาครัฐจัดทำโครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภคสาธารณูปการ ภาคประชาชนนำสิทธิการเช่าที่ราชพัสดุมาลงทุนเป็นหุ้นและเป็นพนักงานในบริษัทผู้ผลิต ภาคเอกชนเป็นผู้ได้รับการคัดเลือกให้มาเป็นบริษัทผู้ผลิตด้านการเกษตร โดยวิธีการประมูลภายใต้เงื่อนไขที่กระทรวงการคลัง กำหนด เพื่อจัดทำโครงการด้านการเกษตรภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และบริหารจัดการให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ผลกำไรที่ได้จัดสรรคืนแก่ประชาชนตามมูลค่าหุ้นในบริษัทผู้ผลิต เป็นผลให้เศรษฐกิจฐานรากสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน |
URI: | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1036 |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.