Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1035
Title: Teachers' Opinions on Transformational Leadershipof School's Administrators in Network Schools 35 Latkrabang District Bangkok
ความคิดเห็นของครูที่มีต่อภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนเครือข่ายที่ 35 สำนักงานเขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร
Authors: Seesawas, Tiwa
Tharasrisudti, Pavida
ทิวา สีสวาสดิ์
ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ
Keywords: Reviews
Transformational leadership
School administrators
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กษมา ศรีศัมกุวงศ์. (2560). กรศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาศูนย์ชายแดนอำเภอโปงน้ำร้อน สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.
ญาณี ชำสุวรรณ. (2560). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนในอำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี สังกัดสำนักงานการศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี เขต 17. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.
เพียงฤทัย ชุมวัน. (2560). การศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.
ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ. (2556). ภาวะผู้นำและนวัตกรรมทางการศึกษา, กรุงเทพมหานคร : มิตรภาพการพิมพ์และสติวดีโอ.
รัตตินันท์ บุญกล้า. (2561). การศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 18. การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.
สำนักงานเขตลาดกระบัง (2562. สารสนทศและข้อมูลพื้นฐานทางการศึกษา ปีการศึกษา 2562. กรุงเทพฯ:สำนักงานเขตลาดกระบัง.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ. (2559). สภาวะการศึกษาไทย ปี 2559/2560 แนวทางการ ปฏิรูปการศึกษาไทยเพื่อก้าวสู่ยุค Thailand 4.0. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิคจำกัต.
อรอนงค์ แดงนุ้ย. (2561). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาอำเกอบางสะพานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1. การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.
อำนวย ทองโปร่ง. (2556). ภาวะผู้นำและนวัตกรรมทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: มิตรภาพการพิมพ์และสติวดีโอ.
Bass, BM, &Avdio, B.J(1990) Manual for the multifactor leaddership questionnaire. Palo Alt, CA Consulting Psydholgists Fress.
Cohen, L.. Minion, L.. & Morrison, K. (2011. Research methods in education (7th ed.). New York: Routtledge
Abstract: The purpose of this research was to study and|compare the teachers' reviews toward the transformational leadership of school's administrators in Network Schools 35 Latkrabang District Bangkok Office by classifying the qualijication and working experience. The samples used in this research were thirty-five school teachers in Network Schools 35 Latkrabang District Bangkok was used by a sample of 132 people.During academic year of 2019.Then, using stratjfied random sampling. The tool used in research was questionnaires. The five-level. It was determined that the content validity of the items fell in the range at 1.00 and the Cronbach's alpha coefficient showing a level of reliability at 0.95 The data collected were analyzed using the descriptive statistic, t-test and One Way Analysis of Variance The research found that; 1) Teachers'reviews towardthe transformational leadership of school's administrators were high in overalls. 2) Teachers with different degrees gave their reviews toward the transformational leadership of school's administrators, that the overall and individuals were statistically significant differences at .05 Teachers with bachelor's degrees having more reviews than teachers with higher education.3) Teachers with different work experience gave their reviews toward the transformational leadership of school's administrators, that the overall and individuals were statistically significant dijfferences at 0.05. Teachers with more than 20 years of experience show more reviews toward the transformational leadership than teachers with less than 10 years of experience and teachers with experience working between 10-20 years.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูที่มีต่อภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ของผู้บริหารสถ านศึกษา โรงเรียนเครือข่ายที่ 35 สำนักงานเขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร จำแนกตามวุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูผู้สอนโรงเรียนเครือข่ายที่ 35 สำนักงานเขต ลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร ประจำปีการศึกษา 2562 จำนวน 132 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องอที่ใช้ ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 1.00 ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .95 สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเปียงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1) ความคิดเห็นของครูที่มีต่อภ าวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) ครูที่มีวุฒิก ารศึกษาต่างกันมีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของ ผู้บริห ารสถานศึกษา โดยภ าพรวมและรายด้านมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ ระดับ .05 โดยครูที่มีวุฒิ การศึกษาปริญญาตรีมีความคิดเห็นมากกว่าครูที่มีรุฒิการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี 3) ครูที่มีประสบการณ์ในการทำงานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อกาาะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา ในภ าพรวม และรายด้านมีคว ามแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยครูที่มีประสบการณ์ในการทำงานมากกว่า 20 ปี มีความคิดเห็นมากกว่าครูที่มี ประสบการณ์ในการทำงานน้อยกว่า 10 ปี และครูที่มีประสบการณ์ในการทำงาน 10 -20 ปี
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1035
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
430.pdf217.06 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.