Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1016
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorPanthong, Thanida-
dc.contributor.authorBudsayaplakorn, Saksit-
dc.contributor.authorฐานิดา พานทอง-
dc.contributor.authorศักดิ์สิทธิ์ บุศยพลากร-
dc.date.accessioned2021-05-16T14:39:01Z-
dc.date.available2021-05-16T14:39:01Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationธนาคารออมสิน. (2556). รายงานประจำปี. ค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2562 จาก https://www.gsb.or.th/aboutus/corporategovernance/ report/annualreport.aspx-
dc.identifier.citationธัญญ์นภัส คงแก้ว. (2559). ความพึงพอใจในการใช้บริการสลากออมสินพิเศษของผู้ใช้บริการ ธนาคารออมสิน สาขาใน สังกัดเขตห้วยขวาง. บริหารธุรกิจสาขาวิชาการจัดการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.-
dc.identifier.citationธีรกุล เอกะกุล. (2543). ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. อุบลราชธานี: สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี.-
dc.identifier.citationฝ่ายบริหารผลิตภัณฑ์และการตลาดเงินฝาก ธนาคารออมสิน. (2562). สลากออมสิน. ค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2562 จาก https://www .gsb.or.th/lotto.aspx,-
dc.identifier.citationรติกร ศิริพฤกษ์พงษ์. (2559). ความแตกต่างของทัศนคติและพฤติกรรมระหว่างการซื้อสลากออมสินและสลากกินแบ่ง รัฐบาลของผู้บริโภคในเขตประตูน้ำพระอินทร์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. บริหารธุรกิจสาขาวิชาการจัดการ บัณฑิต วิทยาลัยมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.-
dc.identifier.citationรัฐนันท์ วิริยะอ่องศรี. (2557). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสลากออมสินพิเศษในเกรุงเทพมหานคร. วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริหารธุรกิจ, 4(3)-
dc.identifier.citationวรินดา แก้วพิจิตร. (2556). ปัจจัยในการตัดสินใจซื้อสลากออมสินพิเศษของธนาคารออมสิน สาขานครชัยศรีจังหวัด นครปฐม. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.-
dc.identifier.citationวิไลพร ทัดเทียม. (2558). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการออมในรูปแบบสลากออมสินพิเศษ กรณีศึกษา ธนาคารออมสินสาขาสำนัก พหลโยธิน. เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.-
dc.identifier.citationศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2541). พฤติกรรมผู้บริโภคฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: วิสิทธ์พัฒนา.-
dc.identifier.citationศิริวรรณ เสรีรัตน์, ปริญ ลักษิตานนท์ และศุภร เสรีรัตน์. (2541). กลยุทธ์ตลาด. กรุงเทพมหานคร : พัฒนาศึกษา.-
dc.identifier.citationPhilip Kotler. (2005). Marketing Management. (12th. Ed). New Jersey: Prentice Hall.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1016-
dc.description.abstractThe objective of this research is to study about factors affecting the customer’s buying behavior for the Premium Savings Certificate in Bangkok Metropolis and Vicinity. The research is conducted through questionnaires, collected from 400 clients. Descriptive analysis and Chi-square. The results of the study show that 76 percent buy the premium savings certificate while 24 percent of the target group don’t purchase. Most of the clients are female, between 26 – 35 years old of age, working as civil servant or state enterprise officers, earning an average income of 15,000 - 40,000 THB. Most of them have the average monthly saving of 6 - 10 percent of the income. Non-buyers have a monthly savings less than or equal to 5 percent of their income. Our evidences reveal that the factors affecting the buying behavior are education, occupation, and savings per month. Product factors become the most influencing factor for buying. The second most influencing factor is the price factor. Process factors, physical environment factors, and distribution channel factors, marketing promotion, and personal aspects become the least influence on purchasing the Premium Savings Certificate.en_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อสลากออมสินในกรุงเทพมหานคร และ ปริมณฑล ซี่งได้รวบรวมแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างลูกค้าธนาคารออมสิน 400 คน โดยทำการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติพรรณนาและ ทดสอบสมมติฐานด้วยค่าไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า ลูกค้าซื้อสลากร้อยละ76.00 และไม่ซื้อสลากร้อยละ 24.00 ลูกค้าส่วนใหญ่เป็น เพศหญิง อายุ 26 - 35 ปี ศึกษาระดับปริญญาตรีประกอบอาชีพข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,000 - 40,000 บาท รวมถึงมีเงินออมเฉลี่ยต่อรายได้เดือนละ 6% – 10% ส่วนคนที่ไม่ซื้อมีเงินออมน้อยกว่าหรือเท่ากับ 5% ของรายได้ ผลการทดสอบ สมมติฐานพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการซื้อสลากออมสิน ได้แก่ ระดับการศึกษา อาชีพ เงินออมเฉลี่ยต่อเดือน ซึ่งปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ มีอิทธิพลต่อคนซื้อมากที่สุด รองลงมาเป็นด้านราคา ด้านกระบวนการ ด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ส่วนด้านการส่งเสริมการตลาด และด้านบุคคลมีอิทธิพลต่อการซื้อสลากออมสินน้อยที่สุด-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectGovernment Saving Banken_US
dc.subjectBuying Decisionsen_US
dc.subjectPremium Savings Certificateen_US
dc.titleFactors affecting the customer’s buying behavior for the Premium Savings Certificate in Bangkok Metropolis and Vicinityen_US
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อสลากออมสินของลูกค้า ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.