Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1003
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorChindasri, Khwanjit-
dc.contributor.authorPanthong, Saiphin-
dc.contributor.authorTansuwan, Kittibhop-
dc.contributor.authorขวัญจิตร์ จินดาศรี-
dc.contributor.authorสายพิณ ปั้นทอง-
dc.contributor.authorกิตติภพ ตันสุวรรณ-
dc.date.accessioned2021-05-16T13:32:17Z-
dc.date.available2021-05-16T13:32:17Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationกมลวรรณ สุขสมัย. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการศูนย์การค้า. ดุการค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.-
dc.identifier.citationกรกมล จันทรพักตร์ และคณะ. (2560) รายงานการวิจยั เรื่อง พฤติกรรมการซื้อสินค้าที่ร้านสะดวกซ้อื ของผู้สูงอายุใน กรุงเทพมหานคร. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลย์สงคราม.-
dc.identifier.citationธนากร มาอุทธรณ์. (2557). ปัจจัยทางการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อสินคาของผู้บริโภคต่อร้าน Max Value. การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.-
dc.identifier.citationบุญใจ ศรีสถิตนรากูร. (2553). ระเบียบวิธีวิจัยทางพยาบาลศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: ยูแอนด์ไอ อินเตอร์ มีเดีย จำกัด.-
dc.identifier.citationประวิทย์ พุ่มพา. (2560). การวางแผนการตลาด 4.0. กรุงเทพฯ: บริษัท จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ จำกัด. สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง (2562). ระบบสถิติทางการทะเบียน. ค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2563 จาก https://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statTDD/-
dc.identifier.citationสุดาพร กุณฑลบุตร. (2558). หลักการตลาดสมัยใหม่. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.-
dc.identifier.citationเหมือนจิต จิตสุนทรชัยกุล. (2561). พฤติกรรมผู้บริโภคกับธุรกิจค้าปลีก. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.-
dc.identifier.citationSME Thailand (2561). ส่องตลาดหน้ากากอนามัย เกาะกระแสกรุงเทพฯ รมควัน. ค้นเมื่อ 1 พฤษจิกายน 2562 จาก https://www.smethailandclub.com/entrepreneur-2719-id.html.-
dc.identifier.citationยุทธ ไกยวรรณ์. (2552). การออกแบบเครื่องมือวิจัย. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.-
dc.identifier.citationวรุณรัตน์ คัทมาตย์. (2563). วิธีเลือกหน้าการสู้ ฝุ่น PM 2.5 พร้อมขั้นตอนการสวมใส่ให้ถูกต้อง. ค้นเมื่อ 1 เมษายน 2563 จาก https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/862049-
dc.identifier.citationประชาชาติ. (2562). หนา้ กากอนามัย…ดมี านด์ทะลัก รับมือฝุ่นละอองเกินมาตรฐาน. ค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2562, จาก https://www.prachachat.net/marketing/news-278854 Greenpeace Thailand. (2562). การจัดลำดับเมืองที่มีปัญหามลพิษทางอากาศปี 2561. ค้นเมื่อ-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1003-
dc.description.abstractThe research aims to study on the Marketing mix and personal factor that related to consumer’s purchasing decision making of N95 Masks at the convenience store in Din Daeng, Bangkok. The representative sample group for this IS was 385 respondents who purchase the N95 Masks in convenience store with calculate from Cocharan formulation in the case of unknown population then were selected by purposive sampling method. The data collection analyze statistically by representing the percentage, mean, standard deviation. The statistical hypothesis testing by using T-Test Independent, F-Test, One-Way ANOVA, Chi-Square Test and Multiple Linear Regression Analysis with the statistically significant at 0.5 level. The study demonstrates of the differences of demographic characteristics between males and females impact to the decision making for purchasing N95 Masks in overall and in specific aspects, males and females have different levels of decision making for purchasing N95 Masks more than any other face mask at the statistically significant at 0.5 level. The behavior of consumer’s purchasing is not relate to purchasing N95 Masks in convenience store while the Marketing Mix (4P’s) also not impact to purchasing N95 Masks in convenience store in overall of factors at the statistically significant at 0.5 level.en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยทางการตลาดที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจ เลือกซื้อหน้ากากอนามัย N95 ของผู้บริโภคในร้านสะดวกซื้อเขตดินแดง กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในศึกษา คือ ผู้ที่ ซื้อหน้ากากอนามัยในร้านสะดวกซื้อ จำนวน 385 ราย ซึ่งได้มาจากการกำหนดขนาดตัวอย่างประชากรจากสูตรของคอแครน กรณีที่ไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน และใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม และทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที (T-Test) การ ทดสอบเอฟ (F-Test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) สถิติ Chi-Square Test การวิเคราะห์การ ถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Linear Regression Analysis) อย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบกลุ่มตัวอย่างระหว่างเพศชายและหญิงต่อการตัดสินใจซื้อหน้ากากอนามัย N95 พบว่า โดยภาพรวมและรายด้าน เพศชายและเพศหญิงมีระดับการตัดสินใจที่แตกต่างกันในด้านการตัดสินใจซื้อหน้ากาก อนามัย N95 มากกว่าหน้ากากอนามัยประเภทอื่นๆ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ปัจจัยด้านพฤติกรรมการเลือกซื้อของ ผู้บริโภคไม่มีความสัมพันธ์ต่อการซื้อหน้ากากอนามัย N95 ในร้านสะดวกซื้อ และปัจจัยด้านการตลาดทั้ง 4 ตัวแปร ได้แก่ ด้าน ผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย และการส่งเสริมการตลาดไม่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อหน้ากากอนามัย N95 ในร้านสะดวกซื้อ-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectConsumer’s purchasing decision makingen_US
dc.subjectN95 Masks, Convenience Storeen_US
dc.subjectMarketing Mixen_US
dc.titleMARKETING MIX RELATED TO CONSUMER’S PURCHASING DECISION MAKING OF N95 MASKS AT THE CONVENIENCE STORE IN DIN DAENG, BANGKOK.en_US
dc.titleปัจจัยทางการตลาดที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจซื้อหน้ากากอนามัย N95 ของผู้บริโภคในร้านสะดวกซื้อเขตดินแดง กรุงเทพมหานคร-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.