Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/999
Title: | Factors affecting consumer purchasing decisions offline fashion. In Nakhon Pathom province. ปัจจัยของพฤติกรรมผู้บริโภคที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นออฟไลน์ ในจังหวัดนครปฐม |
Authors: | Wichayawong, Wallapa Ngamyingyong, Nittaya Pechdamdee, Peerada Mektee, Methawee วัลลภา วิชะยะวงศ์ นิตยา งามยิ่งยง , พีรดา เพชรดำดี เมธาวี เมฆถี |
Keywords: | PURCHASING DECISIONS MARKETING MIX CONSUMER BEHAVIOR |
Issue Date: | 9-Jul-2020 |
Publisher: | Nakhon Pathom Rajabhat University |
Citation: | สุวัฒนา วราห์คำ.(2550). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อเสื้อผ้าสำเร็จรูป ของ
ประชาชนใน กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจบัณฑิต, สาขาการตลาด, บัณฑิตวิทยาลัย,
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม กรุงเทพธุรกิจ, 2549 สภาพแวดล้อมทางการตลาดเกี่ยวกับเสื้อผ้าแฟชั่น Cochran, 1977 อ้างใน ธีรวุฒิ เอกะกุล, 2543 สูตรแบบไม่ทราบจำนวนประชากรของ Cochran Kotler. (1997) การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค สุดาพร กุณฑลบุตร (2552) การตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค ฉลองศรี พิมลสมพงศ์ (2548 : 22) ความหมายของปัจจัยทางประชากรศาสตร์ (Demographic Factor) วีลีน และ ฮันเกอร์ (Wheelen L. Thomas and Hunger J David, 2012, page 199) ส่วนประสมทางการตลาด กมลภพ ทิพย์ปาละ (2555). กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภคในอำเภอเมืองเชียงใหม่ ในการซื้อกล้องสะท้อนภาพ เลนส์เดี่ยวระบบดิจิทัล. บัณฑิตวิทยาลัย.เชียงใหม่, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. บริการธุรกิจการตลาด. คเณศ ไชยพร (2556) การแบ่งกลุ่มพฤติกรรมการซื้อเสื้อผ้าผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ เฟซบุ๊ค ในเขต กรุงเทพมหานคร ประภารัตน์ ขันธ์บรรจง (2547) พฤติกรรมการซื้อสินค้า Brandname ของนักศึกษาหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร ทนัชพร เลิศธนะโภค (2550) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในการเลือกซื้อสินค้าจากร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ (Hyper Market) จิรวรรณ ดีประเสริฐ และคณะ (2551) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความพึงพอใจและพฤติกรรมการซื้อสินค้าผ่าน ร้านค้าปลีก สมัยใหม่ของผู้บริโภคกรณีศึกษาพื้นที่กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ นครราชสีมา ภูเก็ต วิกานดา ปกปิงเมือง (2552) พฤติกรรมการซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นของนักศึกษาหญิงระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดารยา ใจแปง (2551) การเลือกซื้อเครื่องแต่งกายแฟชั่นผู้หญิงของผู้บริโภคในเขต อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ |
Abstract: | The objective of this research is 1) to study the personal factors that are related to the
marketing mix factors affecting the decision to buy fashion offline clothes in Nakhon Pathom province,
and 2) to study the influencing factors affecting the Behavior of decision to buy offline fashion clothes in
Nakhon Pathom province Quantitative research methods The samples were 400 students, students and
general public who live in Nakhon Pathom. Data were collected by questionnaires. By simple sampling
selection And analyze the data by using descriptive statistics such as percentage, average, standard
deviation The statistics used in the test were Chi-Square One-Way ANOVA / F-test.
The results showed that most of the respondents were female have percentage 71.20%, aged
42-28 years have percentage 42.80% were earning less than 5,000 baht have percentage 41.80% had
63.80% education below bachelor degree, occupation was student / student have percentage 53.80%
have incomes under 5,000 baht have percentage 41.80% and have a single status 67.50% 1) Personal
factors that are important to marketing mix factors Respondents give importance The overall picture
was at the highest level ( = 4.41, S.D. = 0.64). When considering each aspect, it was found that
The personal aspect was at the highest level ( = 4.48, SD = 0.61), product ( = 4.43, SD = 0.56),
price ( = 4.41, SD = 0.69), distribution ( = 4.38, SD = 0.69) and Marketing promotion ( = 4.36, SD = 0.69)
respectively, and 2) influencing factors affecting the buying decision behavior of offline fashion clothes in
Nakhon Pathom province. 42.50% of them choose to buy the most products through the market, 34.20%
have the frequency of buying offline clothes more than 1 time / month, 67.80% of the average cost of
buying fashion offline clothes is 67.80% and they have The most influential decision in buying offline
fashion clothes is 69.80% respectively. งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผล ต่อการตัดสินใจเลือกซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นออฟไลน์ในจังหวัดนครปฐม และ 2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการ ตัดสินใจเลือกซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นออฟไลน์ในจังหวัดนครปฐม ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปที่อาศัยอยู่ในจังหวัดนครปฐม จำนวน 400 คน เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม โดยการเลือกการสุ่มตัวอย่าง แบบง่าย และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบ ได้แก่ สถิติไคสแควร์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-way ANOVA/F-test) ผลการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ71.20 มีอายุ 18-28 ปี ร้อยละ 42.80 มีรายได้ต่ำกว่า 5,000 บาท ร้อยละ 41.80 มีระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ร้อยละ 63.80 อาชีพเป็นนักเรียน/นักศึกษา ร้อยละ 53.80 มีรายได้ต่ำกว่า 5,000 บาท ร้อยละ 41.80 และมีสถานภาพโสด ร้อยละ 67.50 1) ปัจจัยส่วนบุคคลที่มี ความสำคัญต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญ ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.41, S.D.= 0.64) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านบุคคลอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.48, S.D.= 0.61) ด้านผลิตภัณฑ์ ( = 4.43, S.D.= 0.56) ด้านราคา ( = 4.41, S.D.= 0.69) ด้านการจัดจำหน่าย ( = 4.38, S.D.= 0.69) และด้านการส่งเสริมการตลาด ( = 4.36, S.D.= 0.69) ตามลำดับ และ 2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจเลือกซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นออฟไลน์ ในจังหวัดนครปฐม พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เลือกซื้อสินค้าผ่านตลาดมากที่สุด ร้อยละ 42.50 มีความถี่ในการซื้อ เสื้อผ้าแฟชั่นออฟไลน์มากกว่า 1 ครั้ง/เดือน ร้อยละ 34.20 มีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อครั้งที่ซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นออฟไลน์ไม่เกิน 1,000 บาท ร้อยละ 67.80 และตนเองมีอิทธิพลมากที่สุดในการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นออฟไลน์ ร้อยละ 69.80 ตามลำดับ |
URI: | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/999 |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ปัจจัยของพฤติกรรมผู้บริโภคที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นออฟไลน์.pdf | 209.45 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.