Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/990
Title: Transformation of an Offline to an IoT-based Real-time River Water Quality Monitoring System
การแปลงระบบตรวจวัดคุณภาพน้ำในแม่น้ำแบบออฟไลน์ให้เป็นระบบออนไลน์ แบบเวลาจริงด้วยเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง
Authors: Cheunta, Weerasak
Chirdchoo, Nitthita
Chaona, Sitthichai
วีระศักดิ์ ชื่นตา
นิฏฐิตา เชิดชู
สิทธิชัย ชาวนา
Keywords: water quality monitoring
sensors
Internet of things
real-time monitoring
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: นิฏฐิตา เชิดชู และวีระศักดิ์ ชื่นตา. (2562), การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการฟาร์มกุ้งด้วยการลดใช้ไฟฟ้าที่ไม่ ก่อให้เกิดประโยชน์และควบคุมการเลี้ยงด้วยเทคโนโลยีการเลี้ยงสัตว์น้ำแม่นยำ. วารสารเทคโนโลยือุตสาทกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 9(2), 86-96.
สราวุฒิ บุญเกิตรัมย์ (2559). การพัฒนาระบบการตรวจสอบคุณภาพน้ำแบบไร้สายโดยใช้ชิกบี. วิศวกรรมสารเกษม บัณฑิต, 7(1), 92-104
ศิริพล กำแพงทอง (2557). การฝ้าระวังคุณภาพน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยา. วิทยานิพนธ์ระดับวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวตล้อม). สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
mongoDB. (nd.). The database for modern applications. [ออนไลน์. สืบคั้นจาก https://www.mongodb.com/. (25 ตุลาคม 2562).
grafanaL ab. (nd.). Grafana. [ออนไลน์. สืบค้นจาก https://grafana.com/. (25 ตุลาคม 2562).
Influxdata. (nd.) Influxdata. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก https://www.influxdata.com/. (25 ตุลาคม 2562).
Abstract: This paper presents the design for upgrading an offline river water quality monitoring system to an IoT-based real-time system. The design is to be applied to offline river water quality monitoring units that are currently being installed for monitoring the quality of the river. These units can perform water quality measurement and record the results in the internal data storage. In order to collect this data, manual data transfer at the monitoring location is mandatory, leading to inefficiency due to the time and cost required. Furthermore, with manual data collection, real-time monitoring and response can hardly be achieved. Specifically, our design first obtains analog measurement results from the current monitoring unit and converts them into digital signals using Modbus remote IO M160 module. These signals are then fed to a Raspberry Pi. These results are then stored in both the Raspberry Pi internal storage and the cloud server for further uses. The database and visualization on Raspberry Pi is developed using real-time MongoDB and Node-Red while InfluxDB and Grafana are being used as the database and visualizer on the cloud server, respectively. Our design also includes notification through LINE application for urgent alerts. With our design, the real-time online water quality tracking is possible without system replacement.
บทความนี้นำเสนอการออกแบบเพื่อปรับปรุงระบบตรวจวัดคุณภาพน้ำ ที่ปัจจุบันมีใช้งานอยู่บางส่วนเป็นแบบ ออฟไลน์ไม่สามารถรวจสอบข้อมูลได้แบบเวลาจริง การเก็บข้อมูลต้องทำการโหลดข้อมูลจากระบบตรวจวัดคุณภาพน้ำแบบ ออฟลน์ ณ ตำแหน่งจุดวัดคุณน้ำภาพแล้วจึงนำผลที่ไต้ไปทำกรวิเคราะห์เพื่อใช้งนต่อไป เพื่อลดเวลาและเพิ่มประสิทธิภาพ ในการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลคุณภาพน้ำ ในระบบที่นำเสนอ เบื้องตันทำการแปลงสัญญาณจากระบบออฟไลน์เดิมที่ผลการวัดคุณภาพน้ำที่ได้จากเซนเซอร์ ออกมาเป็นสัญญาณแอนะล็อกให้เป็นสัญญาณดิจิทัลผ่านมอดูล Modbus romote IO module รุ่น M160 ร่วมกับบอร์ด ประมวลผล Raspberry P! ข้อมูลคุณภาพน้ำจะถูกบันทึกไว้บนบอร์ดประมวลผลที่ใช้ระบบฐานข้อมูลแบบเวลาจริง MongoDB และสามารถแสดงผลข้อมูลคุณภาพน้ำด้วยโปรแกรม Node-Red นอกจากการบันทึกข้อมูลไว้ที่บอร์ดประมวลผล แล้ว ยังทำการส่งข้อมูลดังกล่าวไปที่เครื่องแม่ชายบนคลาวด์ ที่ใช้ฐานข้อมูลแบบเวลาจริง In(uxDB และสามารถนำเสนอผล ข้อมูลย้อนหลังได้ด้วยโปรแกรม Grafana กรณีพบความผิตปกติของคุณภาพน้ำเครื่องแม่ข่ายจะทำการแจ้งเตือนผ่านโปรแกรม ประยุกต์ LINE
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/990
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
8.pdf792.5 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.