Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/988
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorJaijumnong, Sukrit-
dc.contributor.authorJanroek, Duangkamon-
dc.contributor.authorKaewmoongkun, Sutthida-
dc.contributor.authorSopa, Rungnapa-
dc.contributor.authorPadgratok, Chanipa-
dc.contributor.authorPreeya, Kasko-
dc.contributor.authorสุกฤษฏิ์ ใจจำนงค์-
dc.contributor.authorดวงกมล จันทร์ฤกษ์-
dc.contributor.authorสุทธิดาแก้วมุงคุณ-
dc.contributor.authorรุ่งนภา โสภา-
dc.contributor.authorชนิภา ผัดกระโทก-
dc.contributor.authorปรียา กัสโก-
dc.date.accessioned2021-05-16T05:53:32Z-
dc.date.available2021-05-16T05:53:32Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationธีรพล หล่อประดิษฐ์ และณรงค์ศักดิ์ หนูสอน. (2559). ศึกษาผลของโปรแกรมการป้องกันการสูบบุหรี่ของนักเรียนมัธยมศึกษา ตอนต้นโรงเรียนขยายโอกาสอำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย. วารสารวิชาการ สคร. 9, 24 (1), 86-95.-
dc.identifier.citationมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่. (2562). เด็กไทย " 9 ขวบ ริสูบบุหรี่แล้ว". ค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2562 จาก http://www.ashthailand.or.th/smartnews/post/detail/218/เด็กไทย-9-ขวบ-ริสูบบุหรี่แล้ว-
dc.identifier.citationสุนิดา ปรีชาวงษ์ และคณะ. (2557). การทบทวนงานวิจัยเกี่ยวกับการสูบบุหรี่ในโรงเรียนมัธยมศึกษา. วารสารสุขศึกษา, 37 (128), 15–28.-
dc.identifier.citationสุภาภรณ์ ปวนสุรินทร์, สุมาลี เลิศมัลลิกาพร และจิตตาภรณ์ จิตรีเช้อื . (2556). การพัฒนาโปรแกรมการป้องกันการสูบบุหรี่ใน นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นโดยใช้พรีซีด-โพรซีด โมเดล. พยาบาลสาร, 40 (2), 26-37.-
dc.identifier.citationศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมการยาสูบ. (2560). ผลสำรวจเยาวชนไทย-ที่สูบบุหรี่. ค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2562 จาก http://www.trc.or.th/th/-
dc.identifier.citationBloom, B. S. (1971). Hand Book on Formative and Summative Evaluation of Student Learning. New York: Graw-Hill Book Company.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/988-
dc.description.abstractThis quasi-experimental research were to study the knowledge and skills for refusing to be persuaded to smoke in lower secondary school students 39 samples in Phra Nakhon Sri Ayutthaya. Instruments were using cigarette prevention program and questionnaires as a tool for data collection. Statistical analysis was performed by using. Descriptive statistics and inferential statistical frequency Distribution, Mean, Percentage, Standard Deviation and Paired sample t-test. The result found that the sample group were men (100.0%), most of the respondents are close to smokers in family members (41.2%). The level of knowledge about cigarettes before joining the program was at a medium level (53.8%). And after participation the program, there was a high level of knowledge about cigarettes (100.0%). Regarding the rejection skills for being persuaded to smoke before joining the program, a low lever (84.6%) and after participation in the program had a high level of rejection skills for persuading tobacco user (100.0%). Knowledge about cigarettes before and after the program is different statistically significant (p-value < .05).en_US
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความรู้ และทักษะการปฏิเสธต่อการถูกชักชวนให้สูบ บุหรี่ในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนแห่งหนึ่ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 39 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมการปอ้ งกันนักสูบบุหร่หี น้าใหม ่ แบบสอบถาม และแบบประเมินทักษะการปฏเิ สธต่อการถูกชักชวนให้สูบบุหรี่ นำมาคำนวณและวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติ Paired sample t-test ผลการวิจัย พบว่า มีบุคคลในครอบครัวสูบบุหรี่ ร้อยละ 41.2 บุคคลใกล้ชิดไม่สูบบุหรี่ ร้อยละ 21.6 ระดับ ความรู้เกี่ยวกับบุหรี่ก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 53.8 หลังจากเข้าร่วมโปรแกรมมีระดับความรู้เพิ่ม ขึ้นอยู่ในระดับสูงคิดเป็น ร้อยละ 100 ส่วนด้านทักษะการปฏิเสธต่อการถูกชักชวนให้สูบบุหรี่ ก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอยู่ใน ระดับต่ำ ร้อยละ 84.6 หลังจากเข้าร่วมโปรแกรมมีระดับทักษะการปฏิเสธอยู่ในระดับสูงคิดเป็น ร้อยละ 100.0 เมื่อ เปรียบเทียบความแตกต่างด้วยสถิติ Paired sample t-test พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้เกี่ยวกับบุหรี่ ก่อน และหลังการให้โปรแกรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < .05) และทักษะการปฏิเสธต่อการถูกชักชวนให้สูบ บุหรี่ ทั้งก่อนและหลังการเข้าร่วมโปรแกรมมีค่าเฉลี่ยคะแนนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < .05)-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectSkills for refusingen_US
dc.subjectNew smokersen_US
dc.subjectCigarette prevention programen_US
dc.titleEFFECTSOF NEW SMOKERS PREVENTION PROGRAM ON SECONDARY SCHOOL STUDENTS AT A SCHOOL, PHRA NAKHON SRI AYUTTHAYA PROVINCEen_US
dc.titleประสิทธิผลของโปรแกรมสร้างเสริมทักษะการปฏิเสธและป้องกันนักสูบหน้าใหม่ ในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดพระนครศรีอยุธยา-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.