Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/979
Title: Guidelines for the preservation of the Yadah Harem Toh of Mon ethnic groups Khlong Chinda Subdistrict Nakhon Pathom Province
แนวทางการอนุรักษ์หญาดฮะเหริ่มโต๊ะของกลุ่มชาติพันธุ์มอญ ตำบลคลองจินดา จังหวัดนครปฐม
Authors: Nakhon Pathom Rajabhat University, Social studies Program
ณพงศ์ บุญปาสาณ
วุทธิพัฒน์ ธนธรรมพานนท์
ณัชชา ศรีกุมมา
นิภาพรรณ นีโครธา
พิมพร ชูชาติ
ปรารถนา แซ่อึ้ง
Keywords: Identity
Ethnic
Hyad he rim toa
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: "การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาชาวบ้านในต บลลองแดน อ าเภอรร์นต จังหวัด สงขลา." http://graduate.hu.ac.th/ . 28 มคราคม /. < http://graduate.hu.ac.th/thesis/2558/mpa/Charnont.pdf?fbclid=wAR12oAH752LZqcYRETu21IPo6f YurEOQAc4yv41N2kYH1aH58x0flc3pMA >.
"ภูมิปัญญาท้องถิ่น กับ กระแสแห่งการเปลี่ยนแปลง." Chiang mai news. 4 กุมภาพันธ์ 2563. < https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/596036?fbclid = IwAR2mdWgqklBNkMJuAipAVbeXB 2cDiZaZCUmfhpPTSO5tyjiXinnsKbp5Kkc >.
สมบูรณ์ สนบ้านเกาะ , เตือนเพ็ญ แจ้งเวหา. 2563(. ความเป็นมาของชนชาติมอญนเขต ต าเคลอง
จินตา อ าเภอสามพราน จังวัตนครปฐม : กลุ่มสตรีปักผ้าสไบมอญไทยรามัญ "แนวทางการอนุรัษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นผ้าไหมมัดหมี่ กรณีศึกษา ผ้าไหมมัดหมี่ต บลบ้านเขว้า อ าถอ บ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ." http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/. 4 กุมภาพันธ์ 2563. < http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2016/TU_2016_5805036125_ 7109_ 5700.pdf?fbclid=IwA R2IDn5(VUm5rtaZkda-Xz-LPBIBeVXi1H5r4FcoDJjFtCly3-hepGtSn10>.
"อัตลักษณ์เชิงเลขนศิลป์ 8 กลุ่มชาติพันธุ์ในแถบลุ่มแม่น้ โขง กรถศึกษา จังหวัด มุกตาหาร. " http:/www.thapra.lib.su.ac.th/. 4 กุมภาพันธ์ 2563. < http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/thesis/fulltext/thapra/Phikkanet Isaramongkolrak/fulltext.p df?fbclid=IwAROP75d-uUc_ AGPYPHpasAvG4hdfM31HNY6-wBwoAyD16FL8GV7woT3C1o>.
ทักษิณ ชมจันทร์. )2551). ภูมิปัญญาชาวบ้านกับการแก้ไขปัญหาความชัดแย้งในชุมชน : กรณีศึกษา ต าบสะแกราช อ าภอปักธงชัยจังหวัดนศรราชสีมา, การศึกษาอิสระรัฐประศสนศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัย ราชภัฏอุตรดิตถ์,
อุตรดิตถ์ นิตม ชมพูหลง. 2548) ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่การเรียนรู้ พิมพ์ครั้งที่ 2, มหาสารคาม : กลุ่ม นิเทศติตตามนครราชสีมา: วิทยาลัยครูนครราชสีมา,
พัชรินทร์ แจ่มจ ารูญ และสนะ. )2550). การ รศึกษาภูมิปัญญาชาวบ้านในเพลงพื้นบ้าน: กรณีศึกษาชุมชน *สรง ค์ อ าเภอบ้านลด จังหวัดเพ รบุรี เพชรบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
พัทยา สายหู. )2534) การพัฒนาวัฒนธรรม เบนพื้นฐานภูมิปัญญาชาวบานและศักยภาพของชุมชน ในการ สัมมนาทางวิชาการเรื่อง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน )หนา 109-118), กรุงเทพฯ : ส านักงน คณะครรมการวัฒนธรรม แห่งชาติ
พิชัยยุทธ สิงห์สหาย. )2546). การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการต าเนินโครงารกองทุนหมู่บ้าน และ ชุมชนเมือง: ศึกษาเฉพาะกรณีกึ่งอ าเภอศลองเชื่น จังหวัดฉะเชิงเทรา, กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย รามค าเหง
ยศ สันตสมบัติ. )2542). ความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
Abstract: The purpose of this article is 1) to study the significance of shawl Mon or Haharem toh of the Mon ethnic group. Ban Khlong Chinda Subdistrict Nakhon Pathom Province 2) to analyze factors of deterioration of the tradition and culture of the Mon people In order to maintain the Mon existence along with the development of Thailand in the present. 3) to find a way to preserve the shabby Mon or Haharem toh of the Mon ethnic group Ban Khlong Chinda Subdistrict Nakhon Pathom Province By using the qualitative research method, collecting data from in-depth interviews, analyzing the data by dividing the objectives of the objectives and presenting them with the descriptive analysis method, in which data providers are villagers in the area with knowledge and ability in The result of the research found that the guidelines for preserving the Haharem toh of the Mon ethnic group in Khlong Chinda Subdistrict, Nakhon Pathom Province were created from awareness raising and transfer of knowledge about Produce shawl in the family and community groups, and set up an educational and exhibition center to show the pride of local villagers and to preserve and remind the youth in the area to have subconscious. In love and appreciation, appreciation and pride in local knowledge as well. Not only the villagers of Khlong Chinda Subdistrict want to preserve and inherit local wisdom, saffron cloth, but there are still many areas that belong to the Mon ethnic group still carry on. And preserving the making of shawl monk to remain for the next generations
บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความสำคัญของผ้าสไบมอญหรือหญาดฮะเหริ่มโต๊ะของกลุ่มชาติพันธุ์มอญ ตำบลบ้านคลองจินดา จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยการเสื่อมความนิยมของประเพณีและวัฒนธรรมของชาวมอญ เพื่อให้ความเป็นมอญยังคงดำรงอยู่พร้อมไปกับการพัฒนาของประไทยปัจจุบัน 3) เพื่อหาแนวทางการอนุรักษ์ผ้าสไบมอญหรื อหญาดฮะเหริ่มโต๊ะของกลุ่มชาติพันธุ์มอญ ตำบลบ้านคลองจินดา จังหวัดนครปฐม โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลจาก การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกวิเคราะห์ข้อมูลโดยแบ่งตามประเด็นวัตถุปะสงค์ที่กำหนดไว้และนำเสนอด้วยวิธีพรรณนาวิเคราะห์ ซึ่งมีผู้ให้ข้อมูลเป็นปราชญ์ชาวบ้านในพื้นที่ที่มีความรู้ความสามารถในเรื่องของหญาดฮะเหริ่มโต๊ะผลการวิจัยพบว่าแนวทางการ อนุรักษ์หญาดฮะเหริ่มโต๊ะของกลุ่มชาติพันธุ์มอญตำบลคลองจินดาจังหวัดนครปฐมเกิดขึ้นจากการปลูกจิตสำนึกและถ่ายทอด วิชาความรู้เกี่ยวกับการผลิตผ้าสไบมอญภายในครอบครัวและกลุ่มชุมชนนอกจากนี้ยังได้มีการจัดตั้งศูนย์ให้ความรู้และแสดง นิทรรศการเพื่อเป็นแบบอย่างแสดงให้เห็นถึงความภาคภูมิใจของชาวบ้านท้องถิ่นและเพื่อสืบสานอนุรักษ์และเตือนใจเยาวชน ในพื้นที่ให้มีจิตใต้สำนึกในการรักและหวงแหนเห็นคุณค่าและภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่นอีกด้วยไม่เพียงแต่ชาวบ้านตำบลคลอง จินดาเท่านั้นที่ต้องการอนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นผ้าสไบมอญแต่ยังมีอีกหลายพื้นที่ที่เป็นกลุ่มชาติพันธุ์มอญยังคงมี การสืบสานและอนุรักษ์การทำผ้าสไบมอญให้คงอยู่สู่คนรุ่นหลังต่อไป
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/979
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.