Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/976
Title: Intellectual Conservation Guidelines for the Weaving of Jok Sakae Rai, Don Yai Hom Subdistrict, Mueang District, Nakhon Pathom Province
แนวทางการอนุรักษ์ภูมิปัญญาการทอผ้าจกสะแกราย ตำบลดอนยายหอม อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม
Authors: Saeueng, Pradtana
Kaewtongpan, Chayanan
Laemsuwannakul, Rarinpom
Pumtakong, Saranya
Inprai, Sitseenee
Launkaew, Aekanit
ชญาณ์นันท์ แก้วทองพันธ์
ระรินพร แหลมสุวรรณกุล
ศรัญญา พุ่มตาก้อง
สิทธิ์สีนี อินทร์ไพร
เอกคณิสร์ ล้วนแก้ว
ปรารถนา แซ่อึ๊ง
Keywords: Jok Sakae Rai Cloth
Weaving Wisdom
Preservation
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: ประเวศ วส. (2553). การสร้างสรภูมิปัญญาไทยเพื่อการพัฒน ในการสมนาทางวิชาการเนื่องในงานวัฒนธรรมพื้นบ้าน ไทย ๓๓ เรื่องภูมิปัญญาชาวบ้าน. กรุงเทพฯ: ส าถงานคณะกรรมการ วัฒนธรรมแห่งชาติ.
วิบูลย์ สี้สุวรรณ. (2530). ผ้าไทย พัฒนาการทางอุตสาหกรรมและสังคม. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิซซิ่ง. วิทยานิพนธ์
พระครูประภัทรสุตธรรม (วีศักดิ์ ปภสุสโร. (2560). การอนุรักษ์และพัฒนาภูมิปัญญาการทอผ้าไหมของกลุ่มทอผ้าไหม บ้านดูนาหนองไผ่ ตำบลนาหนองไผ่ อำเกอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, สาซาวิชาการพัฒนาสังคม, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ยุภาพร เจริญวัฒนมณีชัย. (2560). แนวทางการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นผ้าไหมมัดหมี่ กรณีศึกษา ผ้าไหมมัดหมื่ ตำบล บ้านเขว้า อำเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ. วิทยานิพนธ์พัฒนาชุมซนมหาบัณฑิต, สขาการพัฒนาชุมชน, คณะสังคมสงเคราะห์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ชมภูนาฎ ชมพูพันธ์. (2559). แนวทางในการอนุรักษ์ และฟื้นฟูภูมิปัญญาการทอผ้าตื่นจกของซาวจังหวัตเลย. Journal of Community Development Research, 6 (2 (มีนาคม 2559), 22.
ภัทรวดี อัศลา. (2558). วิธีการอนุรักษ์ผ้าไหมมัตหมี่ของชาวบ้านห้วยแคน อำเภอกุตรัง จังหวัดมหาสารคาม. วารสาร สหวิทยาการวิจัย ฉบับบัณฑิตศึกษา, 4 (2 (เมษายน-มิถุนายน 2558), 95-101.
วรรณา โชคบันตาลสุข. (2559). การถ่ายทอตภูมิปัญญาการทอผ้ตื่นจกไท-ยวนในจังหวัดราชบุรี. วารสารสมาคมนักวิจัย, 21(1 (มกราคม 2559), 166.
นภัต ตรีแดงน้อย. (13 ตุลาคม 2559). ผ้าทอมือไทยทรงดำ ของตีเมืองนครปฐม. สืบค้นจาก https://www.posttoday. com/economy/sme/460082.
ประภาคร แกววรรณา. (ม.ป.ป.). แนวคิตทฤษฎีเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น. สืบต้นจาก http://www.udru.ac.th/oldsite/ attachments/elearning/10/08.
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาสัยศิลปาคร พระราชวังสนามจันทร์. (ม.ป.). กลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอผ้า กึ่กระตุก บ้านสะแกราย. สืบค้นจาก htp://craftown.su.ac.th/indexphp/entrepreneur-informnation/ entrepreneur-nakhonpathom/1-otop-ban-sakaerai?showall= 1&imitstart=. การสัมภาษณ์
วิทยา มียอด. ผู้น ปราชญ์ชาวบ้านกลุ่มวิสาหกิจชุมซนทอผ้า กี่กระตุกบ้านสะแกราย ต าบตอนยายหอม อ าเภอเอง จังหวัด นตรปฐม. สัมภาษณ์, 1 มีนาคม 2563.
Abstract: The study of conservation guidelines for Jok Sakae Rai weaving wisdom from Don Yai Hom Subdistrict, Mueang District, Nokhon Pathom Province, is qualitative research. The methods of collecting data have collected both documents and interviews with those involved in the operations of Ban Sakae Rai Weaving Loom Community Enterprise Group with the following objectives: (1) to study the wisdom of Jok Sakae Rai weaving from Don Yai Hom Subdistrict, Mueang District, Nakhon Pathom Province. (2) To study the reasons for the change of the Jok Sakoe Rai weaving wisdom from Don Yai Hom Subdistrict, Mueang District, Nakhon Pathom Province, and (3) to study the guidelines for preserving the weaving wisdom of Jok Sakae Rai, Don Yai Hom Subdistrict, Mueang District, Nakhon Pathom Province. The results showed that (1) People who live in the villages Sakae Rai, 95%, are of Thai Song Dam descent. The waving of Jok Sakae Rai is considered a weaving for wearing in daily life and performing various rituals of the Thai Song Dam, in which the unique fabric pattern is watermelon pattern. (2) Nowadays, modern technology and changing the economy have resulted in lacking a new generation to inherit wisdom. (3) Establishment of Ban Sakae Rai Weaving Loom Community Enterprise Group to preserve the wisdom of Jok Sakae Rai weaving cloth to be passed down to future generations. And it is a local development to be a source of knowledge about the wisdom of weaving, dress, and culture of Thai Sone Dam.
การวิจัยเรื่อง แนวทางการอนุรักษ์ภูมิปัญญาการทอผ้าจกสะแกราย ตำบลตอนยายหอม อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีวิธีการเก็บข้อมูลทั้งการศึกษาจากเอกสาร และการสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องกับ การคำเนินงานของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอผ้า กี่กระตุกบ้านสะแกราย มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ( 1) เพื่อศึกษาภูมิปัญญา การทอผัาจกสระแกราช ตำบลดอนยายหอม อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม (2) เพื่อศึกษาสาเหตุการเปลี่ยนแปลงภูมิปัญญา การทอผ้าจกสระแกราย ตำบลดอนยายหอม อำภอเมือง จังหวัดนครปฐม และ (3) เพื่อศึกษาแนวทางการอนุรักษ์ภูมิปัญญา การทอผัาจกสระแราย ตำบลดอนยายหอม อำภอเมือง จังหวัดนครปฐม ผลการวิจัยพบว่า (1) ประชาชนที่อาศัยอยู่ที่ หมู่บ้านสะแกราย ร้อยละ 95 เป็นผู้ที่มีเชื้อสายไทยทรงคำ โดยการทอผ้าจกสะแกรายนี้ถือเป็นการทอผ้าสำหรับ สวมใส่ในการคำเนินชีวิตและการประกอบพี่ธีกรรมต่างๆของชาวไทยทรงดำ ซึ่งลวคลายผ้าที่มีเอกลักษณ์ คือ ผ้าลายแตงโม (2) ปัจจุบันความทันมัยของเทคโนโลปีและการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกึ่จ ส่งผลให้ขาดคนรุ่นใหม่ในการสืบทอดภูมิปัญญา (3) มีการจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอผ้าก็กระตุกบ้านสะแกรายขึ้น เพื่อเป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาการทอผ้าจกสะแกราย ให้คงอยู่สืบต่อไปฝั่งคนรุ่นหลัง และเป็นการพัฒน่าท้องถิ่นให้เป็นแหล่งเรียนรู้ทางภูมิปัญญาเกี่ยวกับภูมิปัญญาการทอผ้าจก และวัฒนธรรมการแต่งกายซองชาวไทยทรงคำ
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/976
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.