Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/972
Title: | Guidelines for Development of Tourism Area Plans on Economic Efficiency for Sustainable Tourism Case Study in Elephant Community Ban Khai Muan Peaw, Ban Khai Muan Peaw Sub-District, Muang District, Chaiyaphum Province. แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่างยั่งยืน พื้นที่ชุมชนเลี้ยงช้างบ้านค่ายหมื่นแผ้ว ตำบลบ้านค่าย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ |
Authors: | Tangprom, Pirapim พิรพิมพ์ ทั่งพรม |
Keywords: | Economic Efficiency Tourism Sustainable Planning and Development |
Issue Date: | 9-Jul-2020 |
Publisher: | Nakhon Pathom Rajabhat University |
Citation: | กลุ่มงานส่งเสริมการท่องเที่ยว สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดขอนแก่น.(มปป).เอกสารประกอบการ
จัดการความรู้ด้านการท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์.ค้นเมื่อ 23 เมษายน 2563, จาก
http://www.khonkaen.go.th/kk_km4/Homestay.doc จินตวีร์ เกษมศุข.(2554).การสื่อสารกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ณัฐวี อุตกฤษฏ์.(2555).กระบวนการ PDCA ในการพัฒนาการทำงาน.ค้นเมื่อ 23 เมษายน 2563, จาก http://202.44.34.144/kmit/knowledge_detail.php?IDKM=341 เทศบาลตำบลบ้านค่ายหมื่นแผ้ว.(2560).แผนพัฒนาท้องถิ่น 4 ปี 2560-2563.ค้นเมื่อ 20 เมษายน 2563 , จาก https://www.bankhaimuenpheaw.go.th/home ภราเดช พยัฆวิเชียร.(2542). เรื่องนโยบายอุปสรรคของรัฐในการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. ในเอกสาร ประกอบคำบรรยายในรายงานการวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. ปีการศึกษา 2542 ณ ห้อ ง ปริญญาโท บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภูริช วรรธโนรมณ์.(2563).แผนแก้ปัญหาช้างป่าออกนอกพื้นที่ เขาอ่างไน กับแนวคิดการอยู่ร่วมกันอย่าง ยั่งยืนของ ‘คนกับช้างป่า’.ค้นเมื่อ 20 เมษายน 2563 , จาก https://www.seub.or.th/bloging / มูลนิธิชัยพัฒนา.(2558).แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง.ค้นเมื่อ 23 เมษายน 2563, จาก http://www.chaipat.or.th/site_content/34-13/3579-2010-10-08-05-24-39.html องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านค่าย.(2560).ประวัติความเป็นมาบ้านค่ายหมื่นแผ้ว.ค้นเมื่อ 20 เมษายน 2563 , จาก http://www.bankhai.net/data |
Abstract: | The purpose of this study was to (1) the study of physical in Elephant Community Ban
Khai Muan Peaw, Ban Khai Muan Peaw Sub-District, Muang District, Chaiyaphum Province. (2) For study
of potential in Elephant Community Ban Khai Muan Peaw, Ban Khai Muan Peaw Sub-District, Muang
District, Chaiyaphum Province follow by the Economic of Efficiency for Sustainable Tourism. (3) For
Planning and Development on Economic Efficiency for Sustainable Tourism Case Study in Elephant
Community Ban Khai Muan Peaw, Ban Khai Muan Peaw Sub-District, Muang District, Chaiyaphum
Province The content of focus group and In-depth interview with the community leader representative
And representatives from government and private agencies involved in the development was divided by
each individual commentary including real data in area and photograph. After that will be analyze
potential of destination By analyzing the qualitative data using the descriptive method using
participatory workshop methods. By looking at data from studies, interviews and observing how they
relate to each other To consider tourism planning and development That is in accordance with the
philosophy of sufficiency economy sustainably or not for planning and development sustainable tourism
by participate of government with community. The major findings were as follows: (1) The publication (2)
Including the integration of women's groups to produce and sell suvenier (3) The preparation of the
homestay and elephant show การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาบริบทพื้นที่ชุมชนเลี้ยงช้างบ้านค่ายหมื่นแผ้ว ตำบลบ้านค่าย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ (2)เพื่อศึกษาศักยภาพของพื้นที่ชุมชนเลี้ยงช้างบ้านค่ายหมื่นแผ้ว ตำบลบ้านค่าย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ใน การเป็นแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่างยั่งยืน (3) เพื่อเสนอแนวทางในการพัฒนา พื้นที่แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ และพื้นที่ชุมชนที่เกี่ยวข้องอย่างยั่งยืนเครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ การสนทนากลุ่ม (Focus Group) และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) กับตัวแทนหัวหน้าชุมชน และตัวแทนจากหน่วยงานภาครัฐและ เอกชนที่เกี่ยวข้องในการพัฒนา การเก็บข้อมูลพื้นที่จริงและการถ่ายภาพ เพื่อการวิเคราะห์ศักยภาพพื้นที่แหล่งท่องเที่ยว โดย การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยวิธีการพรรณนาโดยใช้วิธีการเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ด้วยการดูข้อมูลจากการศึกษา การสัมภาษณ์ และการสังเกต ว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร เพื่อพิจารณาการวางแผนและการพัฒนาการท่องเที่ยว ว่าเป็นไป ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่างยั่งยืนหรือไม่ แล้วทำการวางแผนและการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ผล การศึกษาพบว่าแนวทางในการวางแผนและการพัฒนาการท่องเที่ยวตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงอย่างยั่งยืน ต้องได้รับการ จัดการแหล่งท่องเที่ยวร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง พร้อมการพัฒนาด้านการประชาสัมพันธ์ การจัดทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์พื้นที่ รวมไปถึงการรวมกลุ่มแม่บ้านเพื่อผลิตและจำหน่ายสิ่งของที่ระลึก และการจัดทำโฮมส เตย์และกิจกรรมการแสดงโชว์ช้าง เพื่อนำเสนอเป็นแนวทางให้เกิดความยั่งยืนในแหล่งท่องเที่ยว |
URI: | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/972 |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่างยั่งยืน.pdf | 242.18 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.