Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/911
Title: A Conceptual Framework of Flipped Classroom Techniques Model with Collaborative Learning Techniques on Social Media
กรอบแนวคิดการเรียนรู้ในห้องเรียนกลับด้านร่วมกับรูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์
Authors: Phengpinyo, Winai
Tiantong, Monchai
วินัย เพ็งภิญโญ
มนต์ชัย เทียนทอง
Keywords: Flipped Classroom
Collaborative Learning
Social Media
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: ธีรภัทร์ ถิ่นแสนดี. (2558). สังคมออนไลน์ เพื่อการศึกษา Online Society for Education. วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด. 4 (2), 381-391.
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องตน. (พิมพครั้งที่ 7) กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน
มนต์ชัย เทียนทอง. (2556). นวัตกรรม: การเรียนและการสอนด้วยคอมพิวเตอร์. (พิมพ์ครั้งที่ 1) กรุงเทพฯ: แดเน็กซ์ อินเตอร์ตอร์ปปอเรชั่น.
วิจารณ์ พานิช. (2556). ครูเพื่อศิษย์สร้างห้องเรียนกลับทาง.พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: เอสอาร์พริ้นติ้งแมสโปรดักส์.
วีณา คงพิษ กฤช สินธนะกุล และธัญญรัตน์ น้อมพลกรัง. (2560) การสังเคราะห์รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้โครงงาน เป็นฐานผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียนตามการเรียนรู้แบบ VARK. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี, 14 (2), 121-131.
สุปรียา ศิริพัฒนกุลขจร. (2555). การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (The 21st Century Learning). กรุงเทพฯ: The NAS Magazine. มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 12 (29), 229-240.
สุรเชษฐ์ จันทร์งาม และพัลลภ พิริยะสุรวงศ์. (2561). รูปแบบการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านผสานด้วยความจริงเสริมเพื่อ พัฒนาทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2560). ห้องเรียนกลับด้านกับการสอนคณิตศาสตร์. นิตยสาร สสวท, 46 (209), 20-22.
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2558). กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ. ค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2562, จาก http://www.mua.go.th/users/tqf-hed/research/3_2558.pdf.
Abstract: The objective of this research were to 1 ) synthesized Conceptual Framework of Flipped Classroom Techniques Model with Collaborative Learning Techniques on Social Media, 2) evaluate the synthesized research methodology consisted of 2 steps as follows: 1) synthesis of Conceptual Framework of Flipped Classroom Techniques Model with Collaborative Learning Techniques on Social Media using Delphi Technique from 10 experts, and 2) empirical evaluation of the synthesized model by 10 experts. The samples used in this research was 10 experts using purposive sampling. The data was analyzed mean and standard deviation. The result showed that 1) Conceptual Framework of Flipped Classroom Techniques Model with Collaborative Learning Techniques on Social Media from Delphi Technique that consisted of 5 modules as 1) Flipped Classroom Module 2) Student Module 3) Social Media Learning Module 4) Collaborative Learning Module 5) Evaluation Module and 2) the results of the synthesized model on empirical evaluation by experts showed that they accepted the model in very good level (X̅ = 4.40, S.D. = 0.52). In conclusion, that can be used the synthesized conceptual framework properly.
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สังเคราะห์รูปแบบการเรียนรู้ในห้องเรียนกลับด้านร่วมกับรูปแบบการเรียนรู้ แบบร่วมมือผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ 2) ประเมินความเหมาะสมของรูปแบบที่สังเคราะห์ขึ้นจากความคิดเห็นของ ผู้เชี่ยวชาญ วิธีดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ 1) กระบวนการสังเคราะห์รูปแบบการเรียนรู้ในห้องเรียนกลับด้าน ร่วมกับรูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ และ 2) ประเมินผลของรูปแบบที่สังเคราะห์ขึ้นด้วยวิธีการ เทคนิคเดลฟาย โดยกลุ่มผู้เชี่ยวชาญจำนวน 10 คน กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 10 คน ซึ่งมาจากการคัดเลือกแบบ เจาะจง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยที่ได้คือ 1รูปแบบการเรียนรู้ในห้องเรียนกลับด้านร่วมกับรูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือผ่านเครือข่าย สังคมออนไลน์ด้วยเทคนิคเดลฟาย กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ ประกอบด้วย 5 โมดูล 1) โมดูลห้องเรียนกลับด้าน 2) โมดูลผู้เรียน 3) โมดูลสื่อสังคมออนไลน์ 4) โมดูลการเรียนรู้แบบร่วมมือ 5) โมดูลการประเมินผลการเรียนรู้ และ 2) ผลการประเมินรูปแบบ การเรียนการสอนที่สังเคราะห์ขึ้นโดยผู้เชี่ยวชาญทั้ง 10 คน ให้การยอมรับกรอบแนวคิดที่สังเคราะห์ขึ้นว่ามีความเหมาะสม โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด (X̅ = 4.55, S.D. = 0.54) สรุปได้ว่าสามารถนำรูปแบบการเรียนรู้ที่สังเคราะห์ขึ้นไปใช้งาน ได้อย่างเหมาะสม
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/911
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ญ - Shortcut.lnk830 BUnknownView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.