Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/891
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorSantisiripong, Areewan-
dc.contributor.authorSamangsri, Somporn-
dc.contributor.authorManitpornsut, Suparerk-
dc.contributor.authorอารีวรรณ สันติสิริพงศ์-
dc.contributor.authorสมพร สำอางค์ศรี-
dc.contributor.authorศุภฤกษ์ มานิตพรสุทธ์-
dc.date.accessioned2021-04-02T04:32:19Z-
dc.date.available2021-04-02T04:32:19Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationอัศนีย์ ก่อตระกูล, กมลา นาคะศิริ, วิสมัย มโนมัยพิบูลย์, ศิริพร แตงเที่ยง, วิภากร วงศ์ไทย และทัศนาลัย บูรพาชีพ. (2541). การประมวลผลภาษามนุษย์ด้วยคอมพิวเตอร์. วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2541 (6), 94 – 104.-
dc.identifier.citationอมรา ติรศรีวัฒน์ (2561). รายงานวิจัยเรื่อง การบัญชีดิจิทัลและการเตรียมความพร้อมในการเรียนการสอนนักศึกษาในยุค เศรษฐกิจดิจิทัล : วารสารประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิชาการระดับชาติ UTCC Academic Day ครั้งที่ 2 June 8,2018 ของ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย-
dc.identifier.citationกานดา แผ่วัฒนากุล และ ดร.ปราโมทย์ ลือนาม (2556). รายงานวิจัยเรื่อง การวิเคราะห์เหมืองความคิดเห็นบนเครือข่าย สังคมออนไลน์ วารสารการจัดการสมัยใหม่ ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2556 นิสิต,สาขา เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม, 44150-
dc.identifier.citationG.Ozdagoglu, A. Ozdagoglu , Y.Gumus and G. Kurt-Gumus (2560) : เรื่อง การประยุกต์ใช้เทคนิคการขุดข้อมูลใน การจัดการจำแนกงบการเงิน จาก Journal of AI and Datamining Vol5, No. 1 , 2017 , p. 67-77-
dc.identifier.citationยุทธ ไกยวรรณ์ (2555) งานวิจัยเรื่อง หลักการและการใช้การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติคสำหรับการวิจัย. วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยราชมลคลศรีวิชัย 4(1) : 1-12 (2555)-
dc.identifier.citationLi Guo ,Feng Shi and Jun Tu (2562). Textual analysis and machine leaning: Crack unstructured data I finance and accounting .(ออนไลน์) ค้นเมื่อ วันที่ 19 สิงหาคม 2562 http://www.keaipublishing.com/en/journals/jfds/-
dc.identifier.citationShiny Abraham, Chau Huynh and Huy Vu. (2020) . Classification of Soils into Hydrologic Groups Using Machine Learning , (ออนไลน์) ค้นเมื่อ วันที่ 25 สิงหาคม 2562 , https://www.mdpi.com/search?q=soil+into+hydrologic&authors=&journal=&article_type=&search=S earch§ion=&special_issue=&volume=&issue=&number=&page=-
dc.identifier.citationทองสา บุตรงาม และ บุญญสิทธิ์ วรจันทร์ (2562) งานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบประสิทธิภาพวิธีการพยากรณ์การเกิดภาวะ แทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 กรณีศึกษา : โรงพยาบาลแห่งหนึ่งในจังหวัดบุรีรัมย์. วารสารวิจัย งานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 11 มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม วันที่ 11-12 กรกฎาคม 2562-
dc.identifier.citationWannaphong Phatthiyaphaibun, Korakot Chaovavanich, Charin Polpanumas, Arthit Suriyawongkul, Lalita Lowphansirikul, & Pattarawat Chormai. (2016). PyThaiNLP: Thai Natural Language Processing in Python. Zenodo, (ออนไลน์) ค้นเมื่อ วันที่ 26 สิงหาคม 2562 , http://doi.org/10.5281/zenodo.3519354-
dc.identifier.citationPedregosa et al. (2011). Scikit-learn: Machine Learning in Python. JMLR 12 pp.2825-2830, 2011.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/891-
dc.description.abstractEach month medium and large organizations usually cope with a large number of bookkeeping entries in accounting ledgers. This is a time-consuming process. To alleviate the problem, we propose an application of machine learning to classify bookkeeping entries. The natural language processing is employed to extract the features out of each entry, which may be in the combination of Thai, English, numbers, and/or special characters. Then, supervised machine learning algorithms are applied, i.e. Decision Tree, Logistic Regression and Naïve Bayes. The experimental results show that the accuracy of Naïve Bayes, Logistic Regression and Decision Tree is 89.88%, 88.99% and 79.40%, respectively.en_US
dc.description.abstractองค์กรขนาดกลางและขนาดใหญ่ มักมีจำนวนรายการในบัญชีแยกประเภทจำนวนมากในแต่ละเดือน ทำให้ขั้นตอนใน การแยกรายการออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ ใช้เวลานาน เพื่อบรรเทาปัญหาดังกล่าว ในบทความนี้ได้นำเสนอการประยุกต์ใช้การเรียนรู้ ด้วยคอมพิวเตอร์เพื่อจำแนกรายการบัญชีแบบอัตโนมัติ ได้มีการใช้การประมวลผลภาษาธรรมชาติเพื่อสกัดคุณลักษณะออกจาก รายการบัญชีที่อาจเป็นข้อความที่มีทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ตัวเลข หรืออักขระพิเศษปนกัน จากนั้นได้ใช้การเรียนรู้ด้วย คอมพิวเตอร์แบบมีการสอนเพื่อจำแนกรายการทำบัญชีออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ค่าใช้จ่าย สินทรัพย์ ซื้อวัตถุดิบและวัสดุ ใน บทความนี้ได้นำเสนอผลลัพธ์ของการเรียนรู้ด้วยคอมพิวเตอร์ 3 อัลกอริทึมได้แก่ Decision Tree, Logistic Regression และ Naïve Bayes ผลการศึกษาเชิงทดลองปรากฏว่า อัลกอริทึม Naïve Bayes , Logistic Regression, และDecision Tree มี ความถูกต้องเฉลี่ย 89.88% ,88.99% และ 79.40% ตามลำดับ-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectClassificationen_US
dc.subjectMachine Learningen_US
dc.subjectNatural Language Processingen_US
dc.titleAn Application of Machine Learning for Bookkeeping Entry Classification in Accounting Ledgeren_US
dc.titleการประยุกต์การเรียนรู้ด้วยคอมพิวเตอร์เพื่อจำแนกรายการบัญชีในบัญชีแยกประเภท-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
อัน 5.pdf240.63 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.