Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/851
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorBulard, Supaporn-
dc.contributor.authorTuprakay, Seree-
dc.contributor.authorInyim, Nannapasorn-
dc.contributor.authorRuangchuay Tuprakay, Sirawan-
dc.contributor.authorสุภาพร บุหลาด-
dc.contributor.authorเสรีย์ ตู้ประกาย-
dc.contributor.authorนันท์นภัสร อินยิ้ม-
dc.contributor.authorสิรวัลภ์ เรืองช่วย ตู้ประกาย-
dc.date.accessioned2021-03-29T02:29:29Z-
dc.date.available2021-03-29T02:29:29Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationเบญจวรรณ ประสารยา. (2561). การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ กรณีศึกษา กระบวนการผลิตบล็อกประสาน ผสมมูลกวาง. ปริญญานิพนธ์ระดับปริญญามหาบัณฑิต สาขาการตรวจสอบและกฎหมายวิศวกรรม คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.-
dc.identifier.citationฤทธิไกร นาคำมูล และวิริยะ บำรุงศิลป์. (2561). การพัฒนาอิฐบล็อกประสานมวลรวมรีไซเคิล. ปริญญานิพนธ์ระดับปริญญา บัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.-
dc.identifier.citationวราวุธ วุฒิวณิชย์. (2559). นวัตรกรรมเพื่อปลุกจิตสำนึกคนให้รู้คุณค่าทรัพยากรน้ำ. ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน คณะ วิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/851-
dc.description.abstractThis research is a quantitative research aims to (1) study the carbon footprint and water footprint values of recyclable block products from recycled aggregates (2) compare carbon footprint and water footprint values of interlocking blocks product from recycled aggregates and general interlocking blocks. The recycled aggregate is the recycling of construction waste through the granulation and separation process by using machines from Japan in collaboration with the Faculty of Engineering Ramkhamhaeng University, those machines are mass washing machines (KUC-612) and gliders (VSB-312) by using Life Cycle Assessment in the assessment framework of Business-to-Business (B2B). The data was collected from the period of receiving raw material to the period of manufacturing processing. Estimate the carbon footprint and water footprint of product at 4.850 kg. Found that the carbon footprint in the period of receiving raw material acquisition at distances 1, 5, 15 and 30 km. is 6.219, 6.222, 6.231 and 6.245 kgCO2e respectively, and carbon footprint in the manufacturing processing is 0.0252 kgCO2e. The total carbon footprint of the product is 6.244, 6.247, 6.257 and 6.270 kgCO2e respectively. It is higher than the carbon footprint of general interlocking blocks which values of 0.639 0.643 0.652 and 0.666 kgCO2e respectively. The water footprint in the period of receiving raw material acquisition is 73.30 liters of blocks, and the water footprint in the manufacturing processing is 0.40 liters of blocks. The total water footprint of the product is 73.70 liters of blocks. It is higher than the water footprint of general interlocking blocks which values of 0.40 liters of blocksen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงปริมาณมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค่าคาร์บอนฟุตพริ้นท์และวอเตอร์ฟุตพริ้นท์ของบล็อก ประสานมวลรวมรีไซเคิล และเปรียบเทียบค่าคาร์บอนฟุตพริ้นท์และวอเตอร์ฟุตพริ้นท์ของบล็อกประสานมวลรวมรีไซเคิลกับ บล็อกประสานทั่วไป ซึ่งมวลรวมรีไซเคิลเป็นการนำเศษคอนกรีตเหลือทิ้งจากงานก่อสร้างมาผ่านกระบวนการย่อยและแยก โดยใช้เครื่องจักรจากประเทศญี่ปุ่นที่ร่วมมือกับคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ได้แก่ เครื่องล้างมวลรวม (KUC-612) และเครื่องร่อน (VSB-312) โดยทำการประเมินแบบ Business-to-Business (B2B) ศึกษาตั้งแต่การได้มาซึ่ง วัตถุดิบจนถึงกระบวนการผลิต ทำการประเมินค่าคาร์บอนฟุตพริ้นท์และวอเตอร์ฟุตพริ้นท์ของบล็อกประสานมวลรวมรีไซเคิล น้ำหนักเฉลี่ย 4.850 กิโลกรัม พบว่าบล็อกประสานมวลรวมรีไซเคิลมีค่าคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของการได้มาซึ่งวัตถุดิบที่ระยะทาง 1 5 15 และ 30 กิโลเมตร เท่ากับ 6.219 6.222 6.231 และ 6.245 กิโลกรัมคาร์บอนเทียบเท่า ตามลำดับ และค่าคาร์บอน- ฟุตพริ้นท์จากกระบวนการผลิตเท่ากับ 0.0252 กิโลกรัมคาร์บอนเทียบเท่า กล่าวคือ ผลรวมค่าคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของบล็อก ประสานมวลรวมรีไซเคิลเท่ากับ 6.244 6.247 6.257 และ 6.270 กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า ตามลำดับ ซึ่งมีค่า มากกว่าค่าคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของบล็อกประสานทั่วไป ที่มีค่าเท่ากับ 0.639 0.643 0.652 และ 0.666 กิโลกรัม คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า ตามลำดับ สำหรับค่าวอเตอร์ฟุตพริ้นท์ของการได้มาซึ่งวัตถุดิบเท่ากับ 73.30 ลิตรน้ำต่อก้อน และค่าวอเตอร์ฟุตพริ้นท์จากกระบวนการผลิตเท่ากับ 0.40 ลิตรน้ำต่อก้อน ดังนั้นผลรวมค่าวอเตอร์ฟุตพริ้นท์ของบล็อก ประสานมวลรวมรีไซเคิลมีค่าเท่ากับ 73.70 ลิตรน้ำต่อก้อน ซึ่งมีค่ามากกว่าค่าวอเตอร์ฟุตพริ้นท์ของบล็อกประสานทั่วไป ที่มี ค่าเท่ากับ 0.40 ลิตรน้ำต่อก้อน-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectCarbon Footprinten_US
dc.subjectWater Footprinten_US
dc.titleCarbon and Water Footprint Assessment Case Study Block prepared with recycled aggregateen_US
dc.titleการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์และวอเตอร์ฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ กรณีศึกษา กระบวนการผลิตบล็อกประสานจากมวลรวมรีไซเคิล-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.