Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/850
Title: Removal of Chromium and Zinc Heavy Metals in Waste Water Sample by Water Hyacinth using Atomic Absorption Spectrophotometric Technique
การกำจัดโลหะหนักโครเมียมและสังกะสีในน้ำเสียตัวอย่างด้วยผักตบชวา โดยเทคนิคอะตอมมิกแอพซอร์พชันสเปกโทรโฟโทเมทรี
Authors: Singyabut, Arpatsara
Thongngamdee, Sompong
Chidthong, Rungtiwa
อาภัสรา สิงห์ยะบุศย์
สมปอง ทองงามดี
รุ่งทิวา ชิดทอง
Keywords: Heavy metal
Water hyacinth
Wastewater treatment
Atomic absorption spectrophotometry
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: ชนัญชิดา สายชุมดี. (2553). รายงานการวิจัยเรื่อง การวิเคราะห์หาปริมาณโลหะหนักในน้ำเสีย โดยการใช้เครื่องอะตอม- มิกแอบซอร์พชันสเปกโทรมิเตอร์. กำแพงเพชร : มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี,
ดวงกมล วิรุฬห์อุดมผล และรัชนีกร มิ่งขวัญ. (2548). โลหะหนัก. มหาวิทยาลัยมหิดล : คณะเวชศาสตร์เขตร้อน.
เบญจมาศ อุ่นศรี. (2558). รายงานการวิจัยเรื่อง การดูดซึมโลหะหนักของผักกาดเขียว. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร. คณะเกษตรศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม,
วนิดา นราวงษ์ และปรีชา ปัญญา. (2560). รายงานการวิจัยเรื่อง การเตรียมเซลลูโลสจากใบผักตบชวาเพื่อการดูดซับ โครเมียม (VI).กำแพงเพชร : มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
วันทนา แดง. (2554). รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษาแนวทางการลดพลังงานที่ระบบบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพ โดยใช้ผักตบชวา.ปทุมธาธี : มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
อุษารัตน์ คำทับทิม และอทิตยา ศิริภิญญานนท์. (2558). รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษาความเป็นไปได้ในการกำจัด โลหะหนักออกจากน้ำเสียโดยใช้ใบมันสำปะหลังดัดแปร. ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
Gupta and Balomajumder. (2561). Simultaneous bioremediation of Cr(VI) and phenol from single and binary solution using Bacillus sp. Multicomponent kinetic modeling. สืบค้นเมื่อ 17 ธันวาคม 2561 https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0045653517309773
M. Sarkar, A.K.M.L. Rahman, N.C. Bhoumik. (2561). Remediation of chromium and copper on water hyacinth (E. crassipes) shoot powder. สืบค้นเมื่อ 17 ธันวาคม 2561 จาก https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S2212371716301585
Abstract: The adsorption of chromium and zinc heavy metals from waste water sample using water hyacinth which is a natural waste material as an adsorbent was studied. Atomic absorption spectrophotometric technique was used to determine the metals. Water hyacinth was conditioned in base solution, dried and crushed into the size of 100, 500 and 2000 micron. Waste water samples that composed of those two metals were prepared at the concentration of 5, 10 and 20 mg L-1. The results showed that the appropriate size of adsorbent, adsorption period and concentration of waste water sample were found to be 100 micron, 180 minutes and 20 mg L-1, respectively. The percentage of absorptive ability for chromium and zinc heavy metals by water hyacinth to be 98.83 and 97.98, respectively, was also indicated.
งานวิจัยนี้ศึกษาการดูดซับโลหะหนักโครเมียมและสังกะสีในน้ำเสียตัวอย่าง โดยใช้ผักตบชวาซึ่งเป็นวัสดุเหลือใช้จาก ธรรมชาติเป็นตัวดูดซับและใช้เทคนิคอะตอมมิกแอพซอร์พชันสเปกโทรโฟโทเมทรีเป็นตัวตรวจวัด ผักตบชวาถูกปรับสภาพด้วย เบส ทำให้แห้ง และบดให้มีขนาด 100 500 และ 2000 ไมครอน น้ำเสียตัวอย่างที่ใช้มีโลหะหนักทั้งสองชนิดเข้มข้น 5 10 และ 20 มิลลิกรัมต่อลิตร ผลการวิจัยพบว่า สภาวะที่เหมาะสมของขนาดผักตบชวา ระยะเวลาในการดูดซับ และความเข้มข้นของ โลหะหนักที่ใช้ในการดูดซับมีค่า 100 ไมครอน 180 นาที และ 20 มิลลิกรัมต่อลิตรตามลำดับ และความสามารถในการดูดซับ โลหะหนักโครเมียมและสังกะสีมีค่าร้อยละ 98.83 และ 97.98 ตามลำดับ
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/850
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.