Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/841
Title: | The development of physics achievement on behavior of waves for the secondary school level 5 using active learning การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฟิสิกส์ เรื่อง พฤติกรรมของคลื่น ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การสอนแบบการเรียนรู้เชิงรุก |
Authors: | Kaewtabtim, Arisara Mungphon, Janwimon Rakdee, Kanokwan Tuscharoen, Suparat Siengsanoh, Kittipong Siengsanoh, Mattanee อริสรา แก้วทับทิม จันทร์วิมล มุ่งผล กนกวรรณ รักดี ศุภรัตน์ ทัศน์เจริญ กิตติพงษ์ เสียงเสนาะ มัทนี เสียงเสนาะ |
Keywords: | active learning learning achievement behavior of waves |
Issue Date: | 9-Jul-2020 |
Publisher: | Nakhon Pathom Rajabhat University |
Citation: | เบญจพร สว่างศรี.(2559). ผลการจัดกิจกรรมการสอนคณิตศาสตร์เชิงรุกเพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา
ระดับปริญญาตรี. บัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ. จรรยารักษ์ กุลพ่วงและคณะ.(2559). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาและเจตคติต่อการจัดการเรียนรู้ รูปแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้น ร่วมกับกิจกรรมการเรียนรู้แบบเชิงรุก สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. บัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ : มหาวิทยาลัยบูรพา. สิทธิพงษ์ สุพรม.(2561). การพัฒนาความสามารถในการเรียนรู้เชิงรุกในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. ศึกษานิเทศก์ : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 จังหวัดศรีสะเกษ ยโสธร. มาเรียม นิลพันธุ์. (2553). วิธีวิจัยทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). ศูนย์วิจัยและพัฒนาทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ : มหาวิทยาลัยศิลปากร. |
Abstract: | The purposes of this research were 1) to compare physics achievement in behavior of waves of
students before and after learning by using active learning. 2) to compare physics achievement in
behavior of waves of students after study by using active learning with 70 percent criterion. The target
group in the research is 30 the secondary school level 5 students, selected by specific selection. Learning
management plans using active learning. The tools used for collecting data were statistical tests used in
data analysis such as frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and Item-Objective
Congruence Index (IOC).
The research found that
1. Academic achievement in physics on behavior of waves after studying higher than before using
active learning, the calculated t value was 40.87 which showed that the post-learning achievement score
was higher than before learning at the statistical significance level of. 05
2. Physics achievement on behavior of waves after using active learning 70 percent above the
threshold. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฟิสิกส์ เรื่อง พฤติกรรมของคลื่น ของ นักเรียนก่อนและหลังเรียนโดยใช้การสอนแบบการเรียนรู้เชิงรุก(active learning) 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนฟิสิกส์ เรื่องพฤติกรรมของคลื่นของนักเรียนหลังเรียนโดยใช้การสอนแบบการเรียนรู้เชิงรุก(active learning) กับเกณฑ์ ร้อยละ70 กลุ่มเป้าหมายที่ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 30 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจ ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การสอนแบบการเรียนรู้เชิงรุก(active learning) เครื่องมือที่ใช้ รวบรวมข้อมูล คือ แบบทดสอบ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่า t-test และค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฟิสิกส์ เรื่อง พฤติกรรมของคลื่น หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนโดยใช้การสอนแบบการเรียนรู้ เชิงรุก ค่า t ที่ได้จากการคำนวณมีค่าเท่ากับ 40.87 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อน เรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฟิสิกส์ เรื่อง พฤติกรรมของคลื่น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การสอนแบบ การเรียนรู้เชิงรุก สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 |
URI: | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/841 |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฟิสิกส์ เรื่อง พฤติกรรมของคลื่น ของนักเรียน.pdf | 232.49 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.