Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/835
Title: Possibility of Growing Material from Bagasse Sawdust and Eggshell
การศึกษาความเป็นไปได้ของวัสดุปลูกจากชานอ้อย ขี้เลื่อย และเปลือกไข่ไก่
Authors: Nunkong, Wongjun
Saeui, Nattaporn
วงจันทร์ นุ่นคง
ณัฐฐาพร แซ่อุ้ย
Keywords: bagasse
sawdust
eggshell
growing material
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กรมพัฒนาที่ดิน. (2553). คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการตรวจสอบดินทางเคมี. ค้นเมื่อ 30 สิงหาคม 2562, จาก http://www.ldd.go.th/PMQA/2553/Manual/OSD-03.pdf.
กองอุตสาหกรรมอ้อย น้ำตาลทราย และอุตสาหกรรมต่อเนื่อง. การใช้ประโยชน์จากอ้อย. (ม.ป.ป.) ค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2563. จาก http://www.ocsb.go.th/upload/bioindustry/fileupload/9659-4776.pdf.
กิตติชัย โสพันนา, วิชชุดา ภาโสม, กนกวรรณ วรดง และอนันตสิทธ์ ไชยวังราช. (2558). การประดิษฐ์และสมบัติของกระถาง ชีวภาพ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 2 (2), 1-7.
ดลยา หนูแก้ว. (2554). การศึกษาวัสดุปลูกสำหรับสวนหลังคา. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ทัศนุพันธุ์ กุศลสถิตย์. (2542). ความเป็นไปได้ในการใช้เม็ดดินเผาเป็นวัสดุปลูก. ปัญหาพิเศษปริญญาเอก. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
มหาวิทยาลัยของแก่น. (2561). องค์ความรู้สำหรับการพัฒนาด้านอ้อย. ค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2563. จาก http://www.ocsb.go.th/upload/learning/fileupload/5336-7406.pdf
วิชัย ดำรงค์โภคภัณฑ์. (2555). เทคโนโลยีการนำเปลือกไข่มาใช้ประโยชน์. วารสารวิทยาศาสตร์ประยุกต์, 11 (2), 75-83.
สินีนาถ ชัยศักดานุกูล และศศินิภา เชาวนนทปัญญา. (2554). การพัฒนาชุดอุปกรณ์การให้น้ำสำหรับสวนแนวตั้ง. โครงงานวิศวกรรมชลประทานปริญญาตรี. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุดา เรืองณรงค์. (2554). การศึกษาตัวอย่างน้ำและดินทางเคมี โครงการพัฒนาพื้นที่ดินเค็มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. กรมทรัพยากรธรณี.
สุปราณี อบเทียน, สิรินารี เงินเจริญ และประทีป อูปแก้ว. (2560). การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตวัสดุปลูกจากกากชาน อ้อยและกากตะกอนระบบบำบัดน้ำเสีย. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงค์กร ในพระบรม ราชูปถัมป์, 12 (1), หน้า 79-91.
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2563). สถิติการเกษตรของประเทศไทย 2562. น.120 ค้นเมื่อ 22 พฤษภาคม 2563. จาก http://www.oae.go.th/assets/portals/1/files/jounal/2563/yearbook62edit.pdf.
อภิรักษ์ หลักชัยกุล. (2540). การศึกษาวัสดุอินทรีย์เป็นวัสดุปลูกพืชในระบบการปลูกพืชแบบไม่ใช้ดิน. วิทยานิพนธ์ มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อาทิตยา กาญจนะ. (2557). การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้กากใบชาจากอุตสาหกรรมเครื่องดื่มเพื่อทดแทนการใช้ ชิ้นไม้สับในการผลิตแผ่นปาร์ติเกิล. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
Banitalebi G., Mosaddeghi R. M., and Shariatmadari H. (2019). Feasibility of agricultural residues and their biochars for plant growing media: Physical and hydraulic properties. Retrieved May 25, 2020, from https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0956053X19301059.
Barrett G.E., Alexander P.D., Robinson J.S., and Bragg N.C. (2016). Achieving environmentally sustainable growing media for soilless plant cultivation systems-A review. Retrieved May 25, 2020, from https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S030442381630471X.
Green roof technology. (2020). Extensive green roof. Retrieved June 7, 2020, from http://www.greenrooftechnology.com/extensive-green-roof
Abstract: This research aimed to find out the possibility of the growing material development: bagasse, sawdust and eggshell. For studying both physical and chemical properties, the proportions were divided into four methods by weight (bagasse : sawdust : eggshell) 1) 75:75:0, 2) 75:75:15, 3) 75:75:30 and 4) 75:75:45, and the controlled quantity of starch paste was used as a binder. The results found that all proportions were able to form growing media. The 3th proportion was the most appropriate for the growing material development. Its physical properties were a moderately smooth texture with a good adhesion, the average water absorption at 38.92% and the average slake at 2.77%. For chemical properties, the results found that the pH (potential of Hydrogen) at 6.02 and the electrical conductivity (EC) at 3.58 dS/m, which showed the salinity of the growing material that possibly affect sensitive plants. Furthermore, adding more eggshell, the water absorption and electrical conductivity (EC) also increased.
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของการพัฒนาวัสดุปลูกจากชานอ้อย ขี้เลื่อย และเปลือกไข่ไก่ โดย วิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุปลูกด้านกายภาพและเคมี ทั้งหมด 4 อัตราส่วน (ชานอ้อย:ขี้เลื่อย:เปลือกไข่ไก่) ได้แก่ 1) 75:75:0 2) 75:75:15 3) 75:75:30 และ 4) 75:75:45 โดยน้ำหนัก กำหนดให้ปริมาณวัสดุประสานกาวแป้งเปียกคงที่ ผลการศึกษา พบว่า ทุกอัตราส่วนสามารถขึ้นรูปเป็นวัสดุปลูกได้ และอัตราส่วนที่ 3 เหมาะสมที่สุดในการพัฒนาเป็นวัสดุปลูก กล่าวคือ วัสดุ ปลูกมีลักษณะทางกายภาพ คือ พื้นผิวค่อนข้างเรียบ และมีการยึดเกาะของวัสดุได้ดี มีค่าการดูดซึมน้ำเฉลี่ยร้อยละ 38.92 และค่าการสลายตัวเฉลี่ยร้อยละ 2.77 สำหรับคุณสมบัติทางเคมี พบว่า มีค่าความเป็นกรดด่าง (pH) 6.02 และจากค่าการนำ ไฟฟ้า (EC) 3.58 dS/m แสดงให้เห็นถึงความเค็มของวัสดุปลูกที่อาจส่งผลกระทบกับพืชที่อ่อนไหวต่อความเค็มได้ นอกจากนี้ การเพิ่มปริมาณเปลือกไข่ไก่ส่งผลให้ค่าการดูดซึมน้ำและค่านำไฟฟ้าเพิ่มสูงขึ้นด้วย
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/835
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.