Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/57
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorลิ้มกิจเจริญภรณ์, พฤฒิพล-
dc.contributor.authorชีวสุขานนท, วสุ-
dc.contributor.authorแก้วขาว, จักรพงษ์-
dc.date.accessioned2018-12-06T03:54:05Z-
dc.date.available2018-12-06T03:54:05Z-
dc.date.issued2561-03-29-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/57-
dc.description.abstractจุดประสงค์ของงานวิจัยนี้ได้ศึกษาและเปรียบเทียบความหนาของตะกั่วและอลูมิเนียม โดยทั้งสองวัสดุถูกวัดผ่านเครื่องมือเวอร์เนียคาลิเปอร์ และเทคนิคการวัดโดยใช้หลักการส่งผ่านของรังสี ซึ่งค่าทฤษฎีและค่าสัมประสิทธิ์การลดทอนเชิงมวล(mass attenuation coefficient) ของทั้งสองวัสดุจะถูกคำนวนโดยใช้โปรแกรม WinXCom วัสดุทั้งสองชนิดจะถูกวัดโดยการใช้แหล่งกำเนิดรังสี Cs-137 ที่พลังงาน 662 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ และทั้งหมดจะถูกนำมาเปรียบเทียบกับค่าความหนาที่ได้จากเวอร์เนียคาลิเปอร์ตามลำดับ ผลการทดลองพบว่า ค่าความหนา และค่าสัมประสิทธ์การลดทอนเชิงมวลของแผ่นตะกั่วมีค่ามากกว่าแผ่นอลูมิเนียม ค่าความหนาของตะกั่วและอลูมิเนียมที่วัดได้จากเทคนิคการส่งผ่านของรังสีมีค่าความหนาที่สามารถยอมรับได้เมื่อเทียบกับเวอร์เนียคาลิเปอร์ และค่าความแตกต่าง (% RD) ระหว่างสองเทคนิคในการวัดมีค่าไม่เกิน 4%en_US
dc.subjectการวัดความหนาen_US
dc.subjectรังสีแกมมาen_US
dc.subjectเทคนิคการส่งผ่านen_US
dc.titleการวัดความหนาของวัสดุโดยใช้เทคนิคการส่งผ่านของรังสี Thickness Measurement by using Gamma Rays Transmission Techniqueen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 11th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
พฤฒิพล ลิ้มกิจเจริญภรณ.pdf488.49 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.