Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/454
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorบุญมา, ณรงค์วรรษ-
dc.date.accessioned2018-12-11T08:51:35Z-
dc.date.available2018-12-11T08:51:35Z-
dc.date.issued2560-09-28-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/454-
dc.description.abstractจากการศึกษาวิเคราะห์สัมมาปัญญาตามแนวคิดของพระพุทธศาสนาเถรวาท พบว่า 1) สัมมาทิฏฐิเป็นบ่อเกิดของ สัมมาปัญญาในพระพุทธศาสนาเถรวาท และ 2) การพัฒนาสัมมาปัญญาในพระพุทธศาสนาเถรวาท ต้องอาศัยปัจจัย 2 ประเภท ดังนี้ (1) ปัจจัยจากภายนอก (ปรโตโฆสะ) และ (2) ปัจจัยจากภายใน (โยนิโสมนสิการ) จนเกิดเป็นสัมมาทิฏฐิที่คอยอบรม บุคคลให้ดำรงอยู่ภายใต้กรอบศีล สมาธิ และปัญญาตามหลักไตรสิกขาหรืออริยมรรคมีองค์ 8 ในการดำเนินชีวิต เกิดคุณลักษณะ ของจิตที่ไม่คิดร้ายเบียดเบียนทั้งต่อตนเองและผู้อื่น และมีการตรวจทานตนเองอยู่เสมอว่าทิฏฐิของตนนั้น ยังเป็นสัมมาทิฏฐิอยู่ หรือไม่ มีหิริโอตตัปปะหรือไม่ ตลอดถึงมีความเชื่อเรื่องกฏแห่งกรรม การให้ผลของกรรม เชื่อเรื่องภพชาติ เชื่อในพระรัตนตรัย และมีความกตัญญูรู้คุณต่อผู้มีพระคุณมีบิดามารดาเป็นต้นหรือไม่ สิ่งเหล่านี้เป็นเครื่องยืนยันว่าบุคคลนั้นเป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ ถึงแม้ว่าปัญญาที่เกิดขึ้นจากการฝึกฝนอบรมปลูกฝังนี้ จะยังไม่ใช่ปัญญาที่เป็นเป้าหมายสูงสุดในทางพุทธปรัชญาเถรวาท แต่ก็ เป็นปัญญาที่นำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดำเนินชีวิตประจำวันและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข พร้อมกับหมั่นพากเพียร ฝึกฝนตนเองเพื่อพัฒนาสัมมาปัญญาของตนนั้นให้ไปสู่เป้าหมายอันเป็นสัมมาปัญญาสูงสุดคือโลกุตตระปัญญาen_US
dc.subjectสัมมาปัญญา สัมมาทิฏฐิ พระพุทธศาสนาเถรวาทen_US
dc.titleศึกษาวิเคราะห์สัมมาปัญญาตามแนวคิดของพระพุทธศาสนาเถรวาท Analytical Study of the Right Wisdom According to the Concept of Theravada Buddhismen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 11th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
97.ณรงค์วรรษ บุญมา.pdf521.47 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.