Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1251
Title: TEACHERS’ MOTIVATION TO THEIR ROLE IN NETWORK SCHOOL 35, LADKRABANG DIDTRICT BANGKOK
แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนเครือข่ายที่ 35 สำนักงานเขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร
Authors: Inkor, Phavinee
Karnjanapan, Ratana
ภาวินี อินกอ
รัตนา กาญจนพันธุ์
Keywords: Network School 35
Teachers
Motivation
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: ฉัตรชัย แทนทอง. (2561: 2-25). การศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนอนุบาลเมืองใหม่ชลบุรี สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี งานนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ธำรงศักดิ์ คงคาสวัสดิ์. ทุนมนุษย์ : การกำหนดตัวชี้วัดเพื่อพัฒนา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ ส.ส.ท., 2550: 1-22
ปฐมวงค์ สีหาเสนา.(2557: 13-16). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรเทศบาลตำบลค่ายเนินวงตำบลบางกะจะ อำเภอ เมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี งานนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
พรศิลป์ ศรีเรืองไร. (2553: บทคัดย่อ). การศึกษาปัจจัยในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนประถมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาปทุมธานี เขต 2 วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
พรรณิภา พระพล.(2558: 23). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูผู้สอนโรงเรียนประถมศึกษา กลุ่มโรงเรียนศรีราชา 1 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 งานนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตาม หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ. (2558: 60). ภาวะผู้นำและนวัตกรรมทางการศึกษา พิมพ์ครั้งที่ 2 โดยบริษัท มิตรภาพการพิมพ์และ สติวดิโอ จำกัด
อิสริยา รัฐกิจวิจารณ์ ณ นคร. (2557: 83-84). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 (จันทบุรี-ตราด) งานนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐ ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัย บูรพา
Baron, Angela & Armstrong, Michael. Human capital management: achieving added value through people. London; Philadelphia: Kogan Page Ltd., 2007
Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3). 607-610.
Abstract: The purpose of this research is to 1 ) study the levels of teachers’ motivation to their role in network schools3 5 , Ladkrabang District Bangkok 2 ) compare the motivations of teachers of network school 35 according to class levels and teachers’ experience. The subject of the study are the teachers in network school 35 Ladkrabang District Bangkok, in the 2019 academic year. The subjects are obtained by Stratified Sampling and using the control group according to Krejcie and Morgan’s framework.There is a total of 132 subjects. The methodology that is used in the research is the questionnaire consisting of 40 questions. The accuracy of IOC is at 0.6-1.0. The accuracy of the classification per question is at 0.23- 0.70 and the alpha coefficient rate according to Cronbach is at 0.936. The statistical analysis that were used were the T-test and One-way ANOVA. After the differences were found, Scheffé: Scheffé’s posthoc comparison was also used to obtain data. The research elicited the results: 1) The levels of teachers’ motivation to their role in network schools 35, Latkrabang District Bangkok, is at highest levels according to the three faceted observations from most to least. Responsibility ranked the highest, followed by progress and the third is job successfulness. The facet of motivation that was measured as high were, respect and job description, respectively. 2 ) Teachers with different qualifications had a significant difference in motivation by 0 .5 statistically (according to t-test). 3) Teachers with different experiences also had marked differences by 0 .5 ( according to f-test) in the success of their roles, respect, and
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนเครือข่ายที่ 35 สำนักงานเขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 2) เปรียบเทียบแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนเครือข่ายที่ 35 สำนักงานเขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร โดยจำแนกตามระดับการศึกษา และประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้ปฏิบัติการสอนโรงเรียนเครือข่ายที่ 35 สำนักงานเขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2562 ได้มาโดยวิธีการ สุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Sampling) จำนวน 132 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม จำนวน 40 ข้อ สถิติ ที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t (t-test) และการวิเคราะห์ความ แปรปรวนแบบทางเดียว (One-way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1) แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนเครือข่ายที่ 35 สำนักงานเขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร โดยภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มี ค่าเฉลี่ยระดับมากที่สุด 3 ด้าน เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านความรับผิดชอบ ด้านความเจริญก้าวหน้า และด้าน ความสำเร็จของงาน 2) ครูที่มีระดับการศึกษาต่างกันมีระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน โดยภาพรวม และรายด้านมีความ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ครูที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานต่างกัน มีระดับแรงจูงใจในการ ปฏิบัติงาน โดยภาพรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ ด้านความสำเร็จของงาน ด้านการ ยอมรับนับถือ และด้านความรับผิดชอบ ส่วนครูที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานต่างกันมีระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน โดยภาพรวมและรายด้าน มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05 ไม่พบความแตกต่าง
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1251
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.