Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1247
Title: Perception on brand equity and celebrity endorsement towards purchase intention on Lolane hair product
การรับรู้คุณค่าตราสินค้าและการโฆษณาโดยใช้บุคคลที่มีชื่อเสียงต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์ สำหรับเส้นผมโลแลน
Authors: Pitakpakorn, Watcharapan
Changchenkit, Chuenjit
วัชราพรรณ พิทักษ์ปกรณ์
ชื่นจิตต์ แจ้งเจนกิจ
Keywords: Brand Equity
Celebrity Endorsement
Advertising
Purchase Intention
Lolane
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กัลยา วานิชย์บัญชา. (2550). การวิเคราะห์สถิติ: สถิติเพื่อการตัดสินใจ (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.
ชัชวาลย์ หลิวเจริญ. (2559).กลยุทธ์การสื่อสารเนื้อหาตราสินค้าและพฤติกรรมผู้บริโภคในยุคดิจิทัล.วารสารนิด้าภาษาและ การสื่อสาร. ปี 21 ฉบับที่ 29. กันยายน –ธันวาคม 2559, 56-71.
ณัฐิยา อภัย. (2556). การสื่อสารการตลาดเชิงบูรณาการ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ฝ่ายการตลาดบริษัท เอซี นีลเส็น (ประเทศไทย) จำกัด (2561). รายงานงบประมาณการลงทุน ฝ่ายการตลาด ปี 2561. กรุงเทพฯ: บริษัท เอซี นีลเส็น (ประเทศไทย) จำกัด
ภัสสรนันท์ อเนกธรรมกุล. (2553). ผลกระทบจากการใช้บุคคลที่มีชื่อเสียง (Celebrity) ที่เป็นผู้นำ เสนอสินค้า หลากหลายตราสินค้าในงานโฆษณา. การศึกษาเฉพาะบุคคลปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ระบบสถิติทางการทะเบียน. (2562). ประชากรจากทะเบียน จำแนกตามกลุ่มอายุ และเพศ กรุงเทพมหานคร. สืบค้นจาก http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/ upstat_age_disp.php.
อริญชย์ ณ ระนอง. (2558). อิทธิพลของทัศนคติที่มีต่อการโฆษณาสินค้าและทัศนคติที่มีต่อการโฆษณาสินค้าและทัศนคติที่ มีต่อตราสินค้าในฐานะปัจจัยคั่นกลางที่ถ่ายทอดอิทธิพลของการรับรองผลิตภัณฑ์โดยบุคคลที่มีชื่อเสียงสู่ความ ตั้งใจซื้อ. วารสารมหาวิทยาชัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย, 36(3), 145-168.
Aaker, D. A. (1991). Managing brand equity: Capitalizing on the value of a brand name. New York: Free
Bovee, C. L., Houstan, M. J., & Thill, J. V. (1995). Marketing. (2nd ed.). New York: McGraw. Hill.
Kutthakaphan, R., & Chokesamritpol, W. (2013). The Use of Celebrity Endorsement with the Help of Electronic Communication Channel (Instagram). Case Study of Magnum Ice Cream Thailand. Lampou: n.p.
Abstract: The research studied on relationship between perception on brand equity and celebrity endorsement advertising and purchase intention of Lolane hair products. The main purpose aimed to study on opinions about advertisements endorsed by celebrities to promote Lolane hair products for consumers. It also studied on brand equity of Lolane hair products in the eyes of consumers in Bangkok as well as studied on opinions of consumers' intention to purchase Lolane hair products. The population who were main target of products in this study were 400 females and males, aged between 15 - 65 years. Tools used to collect data were questionnaires to find frequency, percentage, average, standard deviation. Analyses to test each hypothesis were based on applying t-test, F-test, Pearson Correlation. The results of the study revealed that 1) Advertisements endorsed by famous people was significantly at a high level 2) The recognition of brand values was significantly at a high level. 3) Intention to buy Lolane hair was significantly at a high level. 4) Advertisements endorsed by famous people were related to the intention to buy Lolane hair products by consumers in Bangkok. At the statistically significant level of 0.05 and with a low relationship, perceived brand value of Lolane hair products was correlated with the intention to buy Lolane hair products of consumers in Bangkok at the statistical significance level 0.05 and at a moderate level of relationship.
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้คุณค่าตราสินค้าและการโฆษณาโดยใช้บุคคลที่มีชื่อเสียงกับความตั้งใจซื้อ ผลิตภัณฑ์สำหรับเส้นผมโลแลน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นที่มีต่อการโฆษณาโดยใช้บุคคลที่มีชื่อเสียงผลิตภัณฑ์ สำหรับเส้นผมโลแลนของผู้บริโภค เพื่อศึกษาการรับรู้คุณค่าตราสินค้าผลิตภัณฑ์สำหรับเส้นผมโลแลนในสายตาของผู้บริโภคใน เขตกรุงเทพมหานคร เพื่อศึกษาความคิดเห็นที่มีต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์สำหรับเส้นผมโลแลนของผู้บริโภค เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ของการโฆษณาโดยใช้บุคคลที่มีชื่อเสียงกับความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์สำหรับเส้นผมโลแลนของผู้บริโภค และเพื่อ ศึกษาความสัมพันธ์ของการรับรู้คุณค่าตราสินค้ากับความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์สำหรับเส้นผมโลแลนของผู้บริโภค ประชากรใน การศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ เพศหญิงและชาย อายุระหว่าง 15 - 65 ปี เนื่องจากเป็นกลุ่มเป้าหมายของผลิตภัณฑ์ที่ทางบริษัทได้ กำหนดเป้าหมายไว้จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม โดยแบบสอบถามหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์เพื่อทดสอบสมมุติฐานแต่ละข้อใช้การทดสอบ t-test ,F-test, สถิติ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า 1) การโฆษณาโดยใช้บุคคลที่มีชื่อเสียงมีค่าความสำคัญอยู่ในระดับมาก 2) การรับรู้คุณค่าตรา สินค้ามีค่าความสำคัญอยู่ในระดับมาก 3) ความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์สำหรับเส้นผมโลแลนมีค่าความสำคัญอยู่ในระดับมาก 4)การ โฆษณาโดยใช้บุคคลที่มีชื่อเสียงมีความสัมพันธ์กับความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์สำหรับเส้นผมโลแลนของผู้บริโภคในเขต กรุงเทพมหานครที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 และมีความสัมพันธ์ในระดับต่ำ และการรับรู้คุณค่าตราสินค้าของผลิตภัณฑ์ สำหรับเส้นผมโลแลนมีความสัมพันธ์กับความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์สำหรับเส้นผมโลแลนของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครที่ ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 และมีความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1247
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ซื้อผลิตภัณฑ์.pdf215.84 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.