Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1242
Title: Synthesis of Digital Media Formats for Robot Obstacle learning Programs In robot programming courses for Student 2nd Vocational Certificate Program Mechatronics
การสังเคราะห์รูปแบบสื่อดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้โปรแกรมหุ่นยนต์หลบหลีกสิ่งกีดขวาง ในรายวิชาการเขียน โปรแกรมหุ่นยนต์ สำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 สาขาเมคคาทรอนิกส์
Authors: Sinlapasartpiriya, Jirapinya
Aumgri, Charinthorn
Apirating, Kaiyasith
จิรภิญญา ศิลปศาสตร์พิริยะ
จรินทร อุ่มไกร
ไกยสิทธิ์ อภิระติง
Keywords: Digital Media
Robot Programming
Robot Obstacle learning Program
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กิดานันท์ มลิทอง. (2550). เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อรุณการพิมพ์.
จรินทร อุ่มไกร และไกยสิทธิ์ อภิระติง. (2562). การพัฒนาสื่อดิจิทัลร่วมกับเทคโนโลยีความจริงเสริม โดยอาศัยการเรียนรู้ แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ในรายวิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารโครงงานวิทยาการ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ. 5(2), 18-27.
ชูติสันต์ เกิดวิบูลย์เวช.(2558) นวัตกรรมสื่อดิจิทัลใหม่สำหรับนิเทศศาสตร์. วารสารนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมนิด้า. 2(2), 55-70.
นายปิยวัช สีกันหา. (2557). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง คำยืมภาษาบาลีสันสฤตในภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยาพนธ์ตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอน ภาษาไทย ภาควิชาหลักสูตรและวิธีการสอน มหาวิทยาลัยศิลปกร.
ธาม เชื้อสถาปนศิริ. (2557). การผลิตรายการโทรทัศน์ในยุคภูมิทัศน์สื่อใหม่. ค้นเมื่อ 16 พฤษภาคม 2563, จาก https://www.facebook.com/photo.php?fbid=10152246878123732&set=a.483861243731.26 1519.720008731&type=1&theater
อัจจิมา บำรุงนา และทศพร แสงสว่าง. 2558. การพัฒนาการสอนผ่านเว็บด้วยการเรียนรู้แบบนำตนเองวิชา คอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม 3(2), 24-39.
เปรียบฟ้า ด้วงนุ่ม และพิศุทธวรรณ ศรีภิรมย์. 2560. กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษาโดยใช้แนวคิดเรื่อง พาราโบลา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พรรณี ลีกิจวัฒนะ. (2558). วิธีการวิจัยทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ อุตสาหกรรมและ เทคโนโลยีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
ไพฑูรย์ มะณู : (2559). สื่อดิจิทัล (Digital Media). ค้นเมื่อ 10 พฤษภาคม 2563, จาก http://paitoon.esdc.go.th/
สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและรากิจจานุเบกษา (2550). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2550 แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.
Muendet, S. (2013). 10 project-based learning styles with social media to enhance 21 stcentury skills. Retrieved May 16, 2020, from https://hooahz.files.wordpress.com/2013/11/10e0b882e0b8b1e0b989e0b899e0b895e0b8ade 0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b899e0b981e0b89ae0b89ae0b98 2e0b884e0b8a3.pdf [in Thai]
Abstract: The objective of this research was to 1) to synthesize digital media model for learning to avoid obstacles in the robot program 2) to evaluate digital media model for learning obstacles in robot avoiding programs Target group include 8 experts in computer studies, research tools, including 1) related documents and research 2) digital media synthesis for learning robot programs to avoid obstacles In robot programming courses For the second year vocational certificate students in mechatronic The statistics used for data analysis were mean, standard deviation. The results of the research were as follows: 1) Synthesis of digital media for learning to program robot to avoid obstacles. In robot programming courses For the second year vocational certificate students in the Mechatronics Department, consisting of 4 steps, namely (1) information study steps (2) planning procedures for instructional management in robot control programming courses (3) Coaching Computational thinking (4) analysis and improvement procedures and 2) digital media evaluation for robot learning programs, avoiding obstacles in robot programming courses. For the second year vocational certificate students in the mechatronic level, it is found that most of them are suitable at a high level (x̄ = 4.47, S.D. = 0.12).
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสังเคราะห์รูปแบบสื่อดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้โปแกรมหุ่นยนต์หลบหลีกสิ่งกีด ขวาง 2) เพื่อประเมินรูปแบบสื่อดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้โปรแกรมหุ่นยนต์หลบหลีกสิ่งกีดขวาง กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านคอมพิวเตอร์ศึกษา จำนวน 8 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2) การสังเคราะห์รูปแบบสื่อดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้โปรแกรมหุ่นยนต์หลบหลีกสิ่งกีดขวาง ในรายวิชาการเขียนโปรแกรมหุ่นยนต์ สำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 สาขาเมคคาทรอนิกส์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) การสังเคราะห์รูปแบบสื่อดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้โปรแกรมหุ่นยนต์หลบหลีกสิ่งกีดขวาง ใน รายวิชาการเขียนโปรแกรมหุ่นยนต์ สำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 สาขาเมคคาทรอนิกส์ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ ได้แก่ (1) ขั้นตอนศึกษาข้อมูลวิเคราะห์และเลือกปัญหา (2) ขั้นตอนการออกแบบขั้นตอนและ กระบวนการ (3) ขั้นตอนการปฏิบัติตามโครงสร้างขั้นตอน (4) ขั้นตอนการประเมินกระบวนการ (5) ขั้นตอนการเขียนรายงาน และนำเสนอ และ 2) ผลประเมินรูปแบบสื่อดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้โปแกรมหุ่นยนต์หลบหลีกสิ่งกีดขวางในรายวิชาการเขียน โปรแกรมหุ่นยนต์ สำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 สาขาเมคคาทรอนิกส์ พบว่า ส่วนใหญ่มีความ เหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.47, S.D. = 0.12)
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1242
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
วิชาการเขียน.pdf389.01 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.