Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1240
Title: | A Study of Conditions and Problems of the Personnel Management According to Teachers Perceptions of the 25th School Network under BuengKum District Bangkok การศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารงานบุคคลตามการรับรู้ของครู ในเครือข่ายโรงเรียนที่ 25 สังกัดสำนักงานเขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร |
Authors: | Thaweephum, Ladda Lapcharoen, Supawadee ลัดดา ทวีภูมิ สุภาวดี ลาภเจริญ |
Keywords: | Conditions and Problems Personnel Management |
Issue Date: | 9-Jul-2020 |
Publisher: | Nakhon Pathom Rajabhat University |
Citation: | เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2553). การคิดเชิงวิเคราะห์ (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรงเทพฯ:สำนักพิมพ์ซัคเซส มีเดีย. ณัฐนิช ศรีลาคำ.(2558).การบริหารงานบุคคลในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต1.วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี. ดารัตน วรธรรมพิทักษ์.(2560).ความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับการบริหารงานบุคลากรของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 สหวิทยาเขตวิภาวดี เขตดอนเมือง. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง. นิรุทธิ์ พิกุลเทพ.(2558).การศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารงานบุคคลตามการรับรู้ของครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1.วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง. สำนักงานยุทธศาสตร์การศึกษา.(2562).นโยบายและแผนการศึกษา.กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง. มูนีเราะห์ เจ๊ะมิง.(2559).การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สังกัดสำนักงาน การศึกษาเอกชนจังหวัดยะลา.วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยหาดใหญ่. วิโรจน์ สารรัตนะ. (2553). แนวคิด ทฤษฎีและประเด็นเพื่อการบริหารทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 8).กรุงเทพฯ : ทิพยวิสุทธิ์. วราพร พรมแก้วพันธ์ และจรุณี เก้าเอี้ยน. (2555). การบริหารงานบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาอำเภอมายอ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปัตตานีเขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. ศิรินภาวรรณ ทุมคำ.(2559). การศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1.วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. ศุภชัย นุ้ยบุญแก้ว.(2560).การศึกษาความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาสังกัดสำนักงาน เขตทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร.วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง. อลงกรณ์ งามกุศล.(2559).การดำเนินการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและ ครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5.วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหาร การศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี. อรสา บัวป่า.(2560).ความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงานบุคคลของกลุ่มโรงเรียนศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษา เขาใหญ่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4.วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง. Cohen. L., Manion, L & Morrison, K. (2011).Research methods in education (7 th ed.). New York: Routledge. ศุภชัย นุ้ยบุญแก้ว.(2560).การศึกษาความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาสังกัดสำนักงาน เขตทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร.วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง. อลงกรณ์ งามกุศล.(2559).การดำเนินการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและ ครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5.วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหาร การศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี. อรสา บัวป่า.(2560).ความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงานบุคคลของกลุ่มโรงเรียนศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษา เขาใหญ่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4.วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง. Cohen. L., Manion, L & Morrison, K. (2011).Research methods in education (7 th ed.). New York: Routledge. |
Abstract: | This survey study aimed to examine and compare the conditions and problems of the
personnel management according to teachers perceptions of the 25 school network under Bueng Kum
district office Bangkok. The sample of 136 Teachers in the 25 school network, then simple random
sampling. The instrument was a questionnaire.The quertionnaire war tested for the reliability with
Cronbach’s alpha coefficient of .86
The findings revealed 1) The result of the study of the personnel administration according to the
perception of teachers in overall is at a high level. The mean were arranged by ascending order were:
Recruitment and appointment Out of government service Enhancing operational efficiency and
manpower planning. 2) The perception of the state of personnel administration of teachers by gender
Academic positions and work experience in general and in all aspects were not different. Except in the
aspect of enhancing the efficiency of work and leaving the government differently. 3) The results of the
problems of personnel administration as perceived by teachers in general were at a low level.
4) Comparative results classified by gender Work experience And academic positions. การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารงานบุคลากรตามการรับรู้ของครู ใน เครือข่ายโรงเรียนที่ 25 สังกัดสำนักงานเขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร และเพื่อเปรียบเทียบสภาพและปัญหาการบริหารงานบุคลากร ตามการรับรู้ของครู ในเครือข่ายโรงเรียนที่ 25 สังกัดสำนักงานเขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้สอนในเครือข่าย โรงเรียนที่ 25 สังกัดสำนักงานเขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร จำนวน 136 คน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามที่มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ .86 ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาสภาพการบริหารงานบุคคลตามการรับรู้ของครูโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านการสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง ด้านการออกจากราชการ ด้านการ เสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและด้านการวางแผนอัตรากำลัง 2) ผลการเปรียบเทียบสภาพการบริหารงานบุคคล ของครูจำแนกตามเพศ ตำแหน่งทางวิชาการและประสบการณ์ในการปฏิบัติงานโดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน ยกเว้นด้านการเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและด้านการออกจากราชการ แตกต่างกัน 3) ผลการศึกษาปัญหาการ บริหารงานบุคคลตามการรับรู้ของครูโดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย 4) ผลการเปรียบเทียบจำแนกตามเพศ ประสบการณ์ในการ ปฏิบัติงาน และตำแหน่งทางวิชาการ โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน ยกเว้นด้านการเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน แตกต่างกัน |
URI: | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1240 |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
การศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารงานบุคคลตามการรับรู้ของครู.pdf | 212.28 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.