Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1232
Title: THE DESIGN OF BUDDHA'S RESPECTIVE SET FROM BUDDHISM THOUGHT IN DVARAVATI.
การออกแบบชุดบูชาพระ ที่ได้แนวคิดจากวิถีพุทธสมัยทวารวดี
Authors: tonthongkam, Kangkrad
khongphatyuen, Surawut
เก่งกาจ ต้นทองคำ
สุรวุฒิ คงพัฒน์ยืน
Keywords: Set of altar
Dvaravati
Design
Buddhist way of life
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: jedeethai. (2010). สถูปเจดีย์ในยุคสมัยทวารวดี. Retrieved from http://www.jedeethai.com/
กรมการศาสนา กระทวงวัฒนธรรม. (2553). การจัดโต๊ะหมู่บูชา (พิมพ์ครั้งที่ 3 ed.): โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทย.
กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ. (2535). อธิบายเครื่องบูชา: กรุงเทพ ฯ : บริษัท จี.เอ. กราฟิค จำกัด.
กรมศิลปากร. (2542). พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระปฐมเจดีย์: กรุงเทพฯ : : อัมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด. .
การจัดตั้งหิ้งพระบูชา. (2557). Retrieved from http://www.banlangchok.com/index.php?option=com
ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2534). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย ฉบับปรับปรุงใหม่ครั้งที่ 5. 178.
ธิดา สาระยา. (2535). พัฒนาการของรัฐทวารวดี:ประวัติศาสตร์ยุคต้นของสยามประเทศ. ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษร ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
ธิดา สาระยา. (2536). (ศรี)ทวารวดี (พิมพครั้งที่2 ed.): ด่านสุทธาการพิมพ์.
บุญชม ศรีสะอาด. (2538). การวิเคราะห์ข้อมูล. 10.
ประภาส แก้วสวรรค์. (2553). การจัดโต๊ะหมู่บูชา (พิมพ์ครั้งที่3 ed. Vol. 2553): กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม.
ปิยะวรรณ ปิ่นแก้ว. (2553). การศึกษาลวดลายประดับบนประติมากรรมสมัยทวารวดีในจังหวัดนครปฐม เพื่อออกแบบ ลวดลายเรขศิลป์ 2 มิติ. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม,
ผาสุข อินทราวุธ. (2542). ทวารวดี : การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี: กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์อักษรสมัย.
วรรณี สหสมโชค. (2549). ออกแบบเฟอร์นิเจอร์
วิรัตน์ พิชญไพบูลย์. (2527). การออกแบบเครื่องเรือนสมัยใหม: กรุงเทพ. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศักดิ์ชัย สายสิงห์. (2013). พุทธศิลป์ทวารวดี. Retrieved from https://atichit.wordpress.com/
ศักดิ์ชัย สายสิงห์. (2547). ทวารวดี: วัฒนธรรมยุคพุทธศาสนายุคแรกเริ่มในดินแดนไทย: กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์เมืองโบราณ.
สันติ เล็กสุขุม. (2533). “ลายประจำยามก้ามปู ทวารวดี ถึงศรีอยุธยาและรัตนโกสินทร์”ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่11(ฉบับที่3), 26- 30.
อุดมศักดิ์ สาริบุตร. (2550). ออกแบบเฟอร์นิเจอร์.
Abstract: This research aimed to design set of altar from concept of Dvaravati Arts. The elements of Dvaravati Arts were studied in order to bring unique identity to apply in designing products and to create creative work which was different from existing products. This helped to create value and cultural meaning to the work. The research was qualitative research and quantitative research; moreover, the questionnaire and evaluation form were used mutually as tools of research to gather information for consideration from experts and satisfaction from target group. The information was analyzed by mean (X), percentage and standard deviation (S.D) The result of research found that the identity that could be known clearly was sculpture of Thammachak of Dvaravati Arts. Therefore, it inspired concept for designing set of altar with 2 concepts as following Concept 1 (focus on using) and Concept 2 (focus of beauty). Each concept was designed for 3 patterns and from result of satisfaction found that Concept 1 (focus on using) was the design that target group much satisfied. The mean was (4.40) (S.D = 0.55). Identity’s aspect was satisfied at much level; the mean was (4.16) (S.D = 0.68). The beauty of product was most satisfied; the mean was (4.58) (S.D = 0.59). The suitability of usage was satisfied at much level; the mean was (4.42) (S.D = 0.50). The pattern of product was valuable, creative and different from other products in the market; these points were satisfied at much level. The mean was (4.44) (S.D = 0.50). The overall impression was at much level; the mean was (4.46) (S.D = 0.50).
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบผลิตภัณฑ์ชุดบูชาพระจากแนวคิดศิลปกรรม ทวารวดี โดยเป็นการศึกษา องค์ประกอบของศิลปกรรมทวาวดี เพื่อนำเอกลักษณ์ที่โดดเด่นมา ประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการออกแบบผลิตภัณฑ์ให้เกิด รูปแบบที่สร้างสรรค์แตกต่างจากผลิตภัณฑ์ เดิมที่มีอยู่ เป็นการเสริมสร้างคุณค่าและความหมายในเชิงวัฒนธรรมให้เป็นชิ้นงาน การดำเนินการ วิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ควบคู่ กันโดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมินเป็นเครื่องมือในการวิจัย เพื่อเก็บรวบรวม ข้อมูลการ พิจารณาความเหมาะสมจาก ผู้เชี่ยวชาญและความพึงพอใจจากกลุ่มเป้าหมาย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย ( X ) ค่าร้อยละ และค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) จากการวิจัยพบว่าเอกลักษณ์ที่สามารถรับรู้ได้ชัดเจนที่สุดคือด้านประติมากรรม ธรรมจักร ของศิลปกรรมทวารวดี จึงนำมาสู่แนวคิดในการออกแบบผลิตภัณฑ์ชุดบูชาพระ โดยมี แนวทางในการออกแบบ 2 แนวทาง คือ รูปแบบ 1 (เน้นการใช้ งาน) และรูปแบบ 2 (ด้านความงาม) โดยทำการออกแบบแนวทางละ 3 แบบ และผลความพึงพอใจพบว่าผลิตภัณฑ์ในรูปแบบ 1 (เน้นการ ใช้งาน) เป็นรูปแบบที่กลุ่มเป้าหมายพึงพอใจในระดับมาก ค่าเฉลี่ย (4.40) (S.D.=0.55) ด้านของอัตลักษณ์ พึง พอใจในระดับมาก ค่าเฉลี่ย (4.16) (S.D.=0.68) ความสวยงามของผลิตภัณฑ์พึงพอใจใน ระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย (4.58) (S.D.=0.59) ความเหมาะสมของการใช้งาน พึงพอใจในระดับมาก ค้าเฉลี่ย (4.34) (S.D.=0.52) ความเป็นไปได้ในท้องตลาด พึงพอใจในระดับมาก ค่าเฉลี่ย (4.42) (S.D.=0.50) รูปแบบของผลิตภัณฑ์มีคุณค่าและความคิดสร้างสรรค์แตกต่างจาก ท้องตลาดทั่วไป พึง พอใจในระดับมาก ค่าเฉลี่ย (4.44) (S.D.=0.50) และความประทับใจโดยรวม พึงพอใจในระดับมาก ค่าเฉลี่ย (4.46) (S.D.=0.50)
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1232
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.